Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/1270
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorมลฤดี สระฏัน-
dc.contributor.authorชลทิพย์ บุณรังศรี-
dc.date.accessioned2021-03-23T08:33:49Z-
dc.date.available2021-03-23T08:33:49Z-
dc.date.issued2015-03-23-
dc.identifierTP HOM.005 2558-
dc.identifier.citation2558-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/1270-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำของข้าราชการครู สังกัดโรงเรียนรัฐบาลด้วยแบบประเมินและทดสอบทางจิตวิทยา และวิเคราะห์คุณลักษณะต่างๆ (2) เพื่อศึกษาความสอดคล้องระหว่างผลการประเมินข้อมูลป้อนกลับจากผู้บังคับบัญชา และบุคคลที่เกี่ยวข้อง (3) เพื่อจัดทำแผนพัฒนารายบุคคลสำหรับพัฒนาบุคลิกภาพและพฤติกรรม ซึ่งเป็นเครื่องมือในการช่วยส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพและสร้างภาวะผู้นำ (4) เพื่อนำผลการวิเคราะห์คุณลักษณะต่างๆมาพัฒนาบุคลิกภาพและสมรรถนะของตนเองให้มีศักยภาพและสามารถเติบโตในสายอาชีพได้ โดยอาศัยการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เพื่อให้ได้กรณีศึกษาที่มีความพร้อมและความต้องการที่จะพัฒนาตนเองผ่านการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคลและเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลในครั้งนี้ ได้แก่ แบบประเมินทางจิตวิทยา ซึ่งประกอบด้วย The Work Behavior Inventory และ Applied Reasoning Test Managerial/Professional รวมถึงแบบประเมินบุคลิกภาพและสมรรถนะที่ประเมินโดยผู้บังคับบัญชา ผลการวิจัยพบว่าจากการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบประเมินทางจิตวิทยาทำให้ผู้รับการประเมินเข้าใจถึงบุคลิกลักษณะของตนเอง สามารถนำผลการวิเคราะห์ที่ได้มาเชื่อมโยงกับข้อมูลป้อนกลับจากผู้บังคับบัญชา และนำมาคัดเลือกหาสมรรถนะที่จำเป็นต้องมีการพัฒนาและจัดทำเป็นแผนพัฒนาตนเองภายในกรอบระยะเวลาที่กำหนดได้ คำสำคัญ : แบบประเมินทางจิตวิทยา/ ทฤษฎีบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ/ แผนพัฒนาตนเอง-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectทุนมนุษย์และการจัดการองค์กร-
dc.subjectการพัฒนาภาวะผู้นำ-
dc.subjectแบบประเมินทางจิตวิทยา-
dc.subjectข้าราชการครู-
dc.titleการพัฒนาภาวะผู้นำโดยการใช้แบบประเมินทางจิตวิทยา และการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล: กรณีศึกษาข้าราชการครู สังกัดโรงเรียนรัฐบาล = Leadership development through phychometric assessment, cognitive ability test and development action plan (DAP): case study of teacher public school.-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP HOM.005 2558.pdf13.35 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.