Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/1297
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorมลฤดี สระฏัน-
dc.contributor.authorชรฐิตา พฤกษาชีวะ-
dc.date.accessioned2021-03-23T08:34:14Z-
dc.date.available2021-03-23T08:34:14Z-
dc.date.issued2015-06-30-
dc.identifierTP HOM.028 2558-
dc.identifier.citation2558-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/1297-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับบุคลิกภาพ รวมถึงเครื่องมือที่ใช้ประเมินบุคลิกภาพ ซึ่งคือแบบทดสอบทางจิตวิทยา รวมถึงแบบทดสอบเพื่อใช้ในการวัดสมรรถนะของผู้บริหาร (2) เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดทำแผนพัฒนาพฤติกรรมที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมในด้านการทำงาน และการจัดทำแผนกิจกรรมที่ใช้ในการพัฒนาตนเอง เพื่อสร้างเสริมภาวะผู้นำ (3) เพื่อให้เกิดความเข้าใจในตนเอง รู้จุดเด่นและข้อควรปรับปรุง และนำมาปรับใช้ในวิธีการทำงานเพื่อลดข้อผิดพลาด และสร้างงานที่มีประสิทธิภาพ โดยอาศัยการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เพื่อให้ได้กรณีศึกษาที่มีความพร้อมและความต้องการที่จะพัฒนาตนเองผ่านการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล และเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลในครั้งนี้ ได้แก่ แบบประเมินทางจิตวิทยา (Work Behavior Inventory : WBI) และแบบประเมินความสามารถทางปัญญา (Applied Reasoning Test-MP Report : ART-MP) ผลการวิจัยพบว่าผู้รับการประเมินรับรู้ถึงระดับบุคลิกลักษณะในเชิงพฤติกรรมของตนเองจากการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบประเมินทางจิตวิทยา ซึ่งบอกถึงบุคลิกลักษณะที่เด่นชัด และจุดด้อย เพื่อใช้สำหรับให้ผู้รับการประเมินรู้จักตนเองมากขึ้น และเพื่อเป็นแนวทางในการจัดทำแผนพัฒนาตนเองในกรอบระยะเวลาที่กำหนด คำสำคัญ : ทฤษฎีบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ/ แผนพัฒนาตนเอง/ Work Behaviour Inventory-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectทุนมนุษย์และการจัดการองค์กร-
dc.subjectHuman Capital and Organization Management-
dc.subjectภาวะผู้นำ-
dc.subjectแผนพัฒนาตนเอง-
dc.subjectแบบประเมินทางจิตวิทยา-
dc.subjectพนักงานรัฐวิสาหกิจ-
dc.titleการพัฒนาภาวะผู้นำโดยการใช้แบบประเมินทางจิตวิทยา และการจัดทำแผนพัฒนาตนเอง: กรณีศึกษาพนักงานรัฐวิสาหกิจ = Leadership development through psychometric assessment and development action plan (DAP): case study of an officer, state-owned enterprise.-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP HOM.028 2558.pdf9.14 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.