Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/147
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | นพรัตน์ อาฒยะพันธ์ | |
dc.date.accessioned | 2021-03-19T06:59:35Z | - |
dc.date.available | 2021-03-19T06:59:35Z | - |
dc.date.issued | 2018-07-05 | |
dc.identifier | TP MM.089 2560 | |
dc.identifier.citation | 2560 | |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/147 | - |
dc.description.abstract | ประเทศไทยสามารถผลิตชาได้มากเป็นอันดับที่ 3 ของกลุ่มประเทศอาเซียน ปัจจุบันกลุ่มผู้บริโภคชามีอายุน้อยลงเริ่มตั้งแต่วัยหนุ่มสาวและวันทำงาน สนับสนุนให้ตลาดชาในประเทศเติบโตอย่างต่อเนื่อง ผู้วิจัยเล็งเห็นความสำคัญของชาซึ่งเป็นที่ปลูกในประเทศไทย และมีความสนใจศึกษาปัจจัยด้านอิทธิพลของประเทศแหล่งกำเนิดต่อการรับรู้ต่อชาของผู้บริโภคและปัจจัยทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจบริโภคชาเชียงราย โดยงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาถึงปัจจัยด้านอิทธิพลของประเทศแหล่งกำเนิดต่อการรับรู้ของผู้บริโภคชา โดยศึกษาในกลุ่มผู้บริโภคชาจำนวน 30 คน เก็บรวบรวมโดยการสัมภาษณ์แบบกลุ่ม ผลงานวิจัยสรุปได้ว่าจำนวนผู้ทดสอบทั้งหมด เป็นเพศหญิงร้อยละ 80 ส่วนใหญ่ช่วงอายุ 25-29 ปี รายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ในช่วง 15,001-30,000 บาทต่อเดือน รู้จักชาเชียงราย 19 คน โดยรู้จักจากชนิดของชาที่ปลูก คือ ชาอู่หลง เมื่อนึกถึงส่วนใหญ่ชาเชียงราย จะนึกถึงคำว่า หอม/หอมอ่อนๆ มีสีของชาอ่อน ไม่มีตะกอนเป็นผลไปในทิศทางเดียวกันของชาจากแหล่งกำเนิดทั้ง 2 ประเทศ ผู้บริโภคมีความรู้สึกพึงพอใจกลิ่นของชาที่มีแหล่งกำเนิดจากไทยมากกว่าชาที่มีแหล่งกำเนิดจากจีนส่วนด้านรสชาติรับรู้ว่าชาจากเชียงรายมีรสชาติที่อ่อนกว่าทำให้ดื่มง่ายและดื่มได้บ่อยกว่า นอกจากนี้มีความรู้สึกหลังกลืนในทิศทางเดียวกันในเชิงบวก คือ รู้สึกสดชื่นและชุ่มคอ | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | |
dc.subject | การตลาด | |
dc.subject | การรับรู้ของผู้บริโภค | |
dc.subject | ชา | |
dc.title | อิทธิพลประเทศแหล่งกำเนิดชาต่อการรับรู้ของผู้บริโภค = A STUDY OF INFLUENCE COUNTRIES TEA ORIGINS ON PERCEPTION OF CONSUMERS. | |
dc.type | Thematic Paper | |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.