Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/1635
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorพันธ์ณภัทร เศวตภาณุวงศ์-
dc.contributor.authorศุทธินี อัศวเบ็ญจาง-
dc.date.accessioned2021-03-23T09:17:28Z-
dc.date.available2021-03-23T09:17:28Z-
dc.date.issued2016-05-18-
dc.identifierTP MM.046 2558-
dc.identifier.citation2558-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/1635-
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง “พฤติกรรมและปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าเครื่องประดับแฟชั่น (Fashion Accessories) บนร้านค้าในอินสตาแกรม ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสั่งซื้อเครื่องประดับแฟชั่น (สร้อย ต่างหู และแหวน) บนร้านค้าในอินสตาแกรมของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยเลือกศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างที่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานครที่มีพฤติกรรมการใช้สื่อออนไลน์อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อสัปดาห์ จำนวน 127 คน ด้วยวิธีการสำรวจจากแบบสอบถาม ประเภทออนไลน์ ที่ระดับความเชื่อมั่น 90% หรือ significant ที่ 0.1 โดยสรุปผลการวิจัยดังนี้ ลักษณะทางประชากรศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง พบว่ารายได้ที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการสั่งซื้อเครื่องประดับที่แตกต่างกัน สามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม High spending คือ กลุ่มตัวอย่างเพศหญิง อายุตั้งแต่ 21-30 ปี มีรายได้ตั้งแต่ 45,000 บาท ขึ้นไป มีความถี่ในการซื้อเครื่องประดับ 10 ครั้งต่อปีและยอดเฉลี่ยในการซื้อต่อครั้งสูงกว่า (501-1,000บาท) ถัดมากลุ่ม Low-spending คือ กลุ่มตัวอย่างเพศหญิง มีรายได้ต่ำกว่า 45,000 บาท ความถี่ในการซื้อ 3 ครั้งต่อปี และมียอดเฉลี่ยในการสั่งซื้อ 100-500บาท โดยทั้งสองกลุ่มมีเหตุผลในการสั่งซื้อสินค้าเหมือนกันคือ ความสวยงามของสินค้า ทั้งนี้สินค้าแฟชั่นเป็นสินค้าที่มาไวไปไวและมีการแข่งขันสูง ผู้ประกอบการจึงต้องอัพเดทสินค้าใหม่อยู่เสมอ ใช้ Hashtag ให้เหมาะสมและสร้างความเชื่อมั่น (digital trust) แก่ลูกค้าเพื่อให้กลับมาซื้อซ้ำ-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectการตลาด-
dc.subjectเครื่องประดับ-
dc.subjectอินสตาแกรม-
dc.subjectแฟชัน-
dc.titleการศึกษาพฤติกรรมและปัจจัยที่มีผลต่อการสั่งซื้อเครื่องประดับแฟชั่น (Fashion accessories) บนร้านค้าในอินสตาแกรม ของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร = A study of Thai consumers' behavior in Bangkok and orther factors influencing the buying behavior of fashion accessories via Instagram.-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP MM.046 2558.pdf2.7 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.