Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/232
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเกศแก้ว จุลสราญพงศ์
dc.date.accessioned2021-03-19T07:00:11Z-
dc.date.available2021-03-19T07:00:11Z-
dc.date.issued2019-08-10
dc.identifierTP MS.003 2562
dc.identifier.citation2562
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/232-
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการทำ Design Thinking และแนวทางการนำกระบวนการ Design Thinking มาปรับใช้กับองค์กรที่ให้บริการด้านไอที โดยทำการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มตัวอย่างในองค์กร จำนวน 9 คน จากนั้นนำข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ด้วยวิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis ) ผลการวิจัยพบว่า พนักงานในองค์กรมีความรู้ความเข้าใจในการทำ Design Thinking ในระดับหนึ่งแต่ยังขาดการนำมาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับชีวิตประจำวันและงานที่รับผิดชอบ ปัจจัยหลักที่ทำให้การทำ Design Thinking ในองค์กรไม่ประสบความสำเร็จ เนื่องจากผู้เข้าร่วมขาดความเข้าใจวัตถุประสงค์ของการทำที่ชัดเจนและขาดการสนับสนุนจากผู้บริหาร ทำให้พนักงานไม่เห็นความสำคัญของการทำและไม่มีผู้นำที่ผลักดันให้เกิดการทำอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นแนวทางที่จะช่วยให้ Design Thinking มาปรับใช้กับองค์กรให้ประสบความสำเร็จได้ จำเป็นต้องใช้เรื่องของการบริหารองค์ความรู้(Knowledge Management) เข้าร่วมด้วย อันเกิดจากองค์ประกอบสำคัญทั้งทางด้านคน เทคโนโลยี และกระบวนการ ทางองค์กรต้องสร้างบรรยากาศการเปลี่ยนแปลงในองค์กรให้ทุกคนเห็นความสำคัญของการทำ Design Thinking และสนับสนุนโดยการเพิ่มทักษะการทำ Design Thinking ให้กับผู้นำ เพื่อให้รู้จักเลือกเครื่องมือและสามารถถ่ายทอดการทำที่ถูกต้องสู่พนักงานในองค์กรได้ ทั้งนี้สามารถวัดผลของการทำ Design Thinking จากาการตั้ง KPI ในโปรเจคมาช่วยให้เกิดการทำอย่างต่อเนื่อง
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectการจัดการและกลยุทธ์
dc.subjectKnowledge management
dc.subjectDesign thinking
dc.subjectการบริหารความรู้ในองค์กร
dc.titleแนวทางการนำกระบวนการ Design thinking มาปรับใช้กับองค์กรที่ให้บริการด้านไอที =WAY OF DESIGN THINKING IMPLEMENTATION AND ADJUSTMENT IN SYSTEM INTEGRATOR COMPANY.
dc.typeThematic Paper
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.