Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/2771
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorภูมิพร ธรรมสถิตย์เดช-
dc.contributor.authorนันฑิญา ยอดตระกูล-
dc.date.accessioned2021-03-23T10:09:04Z-
dc.date.available2021-03-23T10:09:04Z-
dc.date.issued2018-12-17-
dc.identifierTP MS.020 2561-
dc.identifier.citation2561-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/2771-
dc.description.abstractกระแส Innovation และรูปแบบของการแข่งขันภายในอุตสาหกรรมที่เปลี่ยนไป องค์กรไม่สามารถปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงได้ทัน หากองค์การยังยึดติดกับรูปแบบการดำเนินงานที่เคยทำให้ประสบความสำเร็จมาแล้วในอดีต ไม่ยอมเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ก็ยากที่จะรักษาความมั่นคง และการอยู่รอดในระยะยาวขององค์กรไว้ได้ ในปัจจุบันวิธีการสร้างความมั่นคงให้องค์กรที่ดีที่สุด คือการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน (competitive advantage) ซึ่งเป็นหัวใจของการวางแผนกลยุทธ์ กล่าวคือ ความได้เปรียบในการแข่งขัน คือ สิ่งที่เป็นความสามารถพิเศษขององค์กรที่คู่แข่งไม่สามารถเลียนแบบได้ หรือคู่แข่งต้องใช้เวลาในการปรับตัวเองมาก ซึ่งการสร้างนวัตกรรมอาจสร้างได้จากพนักงาน สร้างแนวคิดและนวัตกรรมโดยข้ามขอบเขตของแผนก กลุ่ม Business, Service, Operation และไม่จำเป็นที่ต้องเริ่มจาก “วิจัยและพัฒนา” ภายในองค์กรอย่างเดียว แต่สามารถ “เปิดรับ” องค์ความรู้จากภายนอก มาร่วมสร้างนวัตกรรม เพิ่มศักยภาพทางการแข่งขัน ช่วยลดต้นทุน ทำให้สินค้าออกสู่ตลาดเร็วขึ้น สร้างความแตกต่างให้ผลิตภัณฑ์ สร้างรูปแบบธุรกิจใหม่ และสร้างรายได้ให้บริษัท โดยการสร้างการรับรู้นวัตกรรมแบบเปิด (Open Innovation) ในองค์กร-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectการจัดการและกลยุทธ์-
dc.subjectธนาคารกสิกรไทย-
dc.subjectนวัตกรรมแบบเปิด-
dc.titleกลยุทธ์เพื่อสร้างการรับรู้ด้านนวัตกรรมแบบเปิด ในอุตสาหกรรมธนาคาร กรณีศึกษา ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) =STRATEGIES FOR AWARENESS TO OPEN INNOVATION IN THE BANKING INDUSTRY A CASE STUDY KASIKORNBANK PUBLIC COMPANY LIMITED.-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP MS.020 2561.pdf4.6 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.