Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/2954
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorปิยภัสร ธาระวานิช-
dc.contributor.authorสุดารัตน์ ผาสวัสดิ์-
dc.date.accessioned2021-03-23T10:25:42Z-
dc.date.available2021-03-23T10:25:42Z-
dc.date.issued2019-05-28-
dc.identifierTP FM.019 2561-
dc.identifier.citation2561-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/2954-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการขายชอร์ตกับผลตอบแทนในอนาคต เนื่องจากการขายชอร์ต มักเกิดจากการใช้ความได้เปรียบของข้อมูล โดยถ้าหลักทรัพย์นั้นมีข้อมูลในเชิงลบ นักลงทุนที่ทราบข้อมูลจะทำการขายชอร์ต แต่ในทางกลับกัน ถ้าหลักทรัพย์นั้นมีข้อมูลในเชิงบวก นักลงทุน ที่ทราบข้อมูลจะหลีกเลี่ยงการขายชอร์ต ทำให้ปริมาณการขายชอร์ตเป็นตัวชี้วัดหนึ่งที่บ่งบอกถึงการใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่ยังไม่เปิดเผย และสะท้อนถึงความไม่สมมาตรของข้อมูล (Asymmetric Information) งานวิจัยนี้จึงใช้วิธีจัดกลุ่มหลักทรัพย์โดยแบ่งตามค่าอัตราส่วนปริมาณการขายชอร์ต(Short Interest Ratio, SIR) ระหว่างสูง-ต่ำ เพื่อทดสอบผลตอบแทนผิดปกติ (Abnormal return) หรือแอลฟ่า (Alpha) สำหรับกลุ่มหลักทรัพย์ที่มีอัตราส่วนปริมาณการขายชอร์ตต่ำแปลว่านักลงทุนหลีกเลี่ยงการขายชอร์ต เนื่องจาก ราคาอยู่ในระดับเหมาะสม (Fair price) หรือมีราคาต่ำเกินไป (Undervalued) ในทางตรงกันข้ามสำหรับหลักทรัพย์มีอัตราส่วนปริมาณการขายชอร์ตสูงแปลว่านักลงทุนมีความต้องการขายชอร์ตมาก เนื่องจากราคาหลักทรัพย์นั้นสูงเกินไป (Overvalued) ผลการศึกษาพบว่า ในระยะ 1 เดือนหลังจากการจัดกลุ่ม กลุ่มหลักทรัพย์ที่มีความต้องการขาย ชอร์ตในระดับสูง (H) มีค่าแอลฟ่าเฉลี่ยสะสมเป็นลบ (Negative Alpha) ร้อยละ 6 อย่างมีนัยสำคัญ ในขณะที่กลุ่มหลักทรัพย์ที่มีความต้องการขายชอร์ตในระดับต่ำ (L) และกลุ่มที่ไม่มีการขายชอร์ต (NS) ยังไม่พบผล-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectการเงิน-
dc.subjectตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย-
dc.subjectแบบจำลองสี่ปัจจัย-
dc.subjectธุรกรรมการขายชอร์ต-
dc.subjectตลาดทุน-
dc.titleการศึกษาผลกระทบของการขายชอร์ตต่อผลตอบแทนของหลักทรัพย์ใน SET 100 ด้วยแบบจำลองสี่ปััจจัย (Carhart four-factor model) =THE STUDY OF STOCK RETURN EFFECT AFTER SHORT INTEREST IN SET 100 BY CARHART FOUR-FACTOR MODEL.-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP FM.019 2561.pdf684.24 kBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.