Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3080
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorภูมิพร ธรรมสถิตย์เดช-
dc.contributor.authorรพัชรศิริ พลเอกพันธุ์-
dc.date.accessioned2021-03-23T10:26:39Z-
dc.date.available2021-03-23T10:26:39Z-
dc.date.issued2019-08-10-
dc.identifierTP MS.026 2562-
dc.identifier.citation2562-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3080-
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ Qualitative มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการคาดการณ์อนาคตเกี่ยวกับการพัฒนาของเทคโนโลยีสำหรับอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ในประเทศไทย เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการพัฒนาและผลิตอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ที่ตรงตามความต้องการ และทดแทนการนำเข้าจากต่างประเทศ โดยการศึกษาในครั้งนี้จะศึกษาการประมวลข้อมูลจากเอกสารรายงานและความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องด้านการผลิตอุปกรณ์ทางการแพทย์และผู้ทรงคุณวุฒิด้านการแพทย์ ผลวิจัยพบว่าแนวโน้มที่คาดการณ์ว่าจะส่งผลกระทบต่อรูปแบบความต้องการอุปกรณ์การแพทย์ในประเทศไทย คือ การป้องกันโรค, การรักษาที่บ้าน และ การรักษาแบบเฉพาะบุคคล ซึ่งส่งผลต่อรูปแบบอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่คาดว่าจะมีความต้องการเพิ่มขึ้นในอนาคต 3 ชนิด คือ อุปกรณ์การแพทย์ที่ใช้สำหรับการป้องกันการเกิดโรค อุปกรณ์การแพทย์ที่ใช้สำหรับดูแลผู้ป่วยที่บ้าน และ อุปกรณ์การแพทย์ที่เหมาะกับแต่ละบุคคล โดยปัจจัยที่มีส่วนสำคัญในการพัฒนาอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ คือ เทคโนโลยี ซึ่งจากความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีทำให้สามารถพัฒนาอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ที่ตอบสนองความต้องการทั้งทางด้านสังคมของผู้ป่วย และตอบสนองต่อนโยบายเกี่ยวกับงบประมาณด้านสาธารณสุขอย่างแท้จริง-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectเทคโนโลยี-
dc.subjectการจัดการและกลยุทธ์-
dc.subjectอุปกรณ์ทางการแพทย์-
dc.subjectการรักษาโรค-
dc.titleการคาดการณ์อนาคตเกี่ยวกับการพัฒนาของเทคโนโลยีสำหรับอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์ในประเทศไทย =TECHNOLOGY FORESIGHT FOR MEDICAL DEVICE DEVELOPMENT IN THAILAND.-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP MS.026 2562.pdf2.57 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.