Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3198
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | วินัย วงศ์สุรวัฒน์ | - |
dc.contributor.author | ปวริศ นักปี่ | - |
dc.date.accessioned | 2021-03-23T10:28:07Z | - |
dc.date.available | 2021-03-23T10:28:07Z | - |
dc.date.issued | 2020-01-17 | - |
dc.identifier | TP MS.034 2562 | - |
dc.identifier.citation | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3198 | - |
dc.description.abstract | การศึกษากลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจการผลิตและจำหน่ายเครื่องดนตรีไทย หจก.ประดิษฐกรรมด้วยเครื่องจักร ดุริยางค์ไทยอุตสาหกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมในการแข่งขันของธุรกิจการผลิตและจำหน่ายเครื่องดนตรีไทย และศึกษาปัจจัยที่ทำให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขันของ หจก.ประดิษฐกรรมด้วยเครื่องจักร ดุริยางค์ไทยอุตสาหกรรม ด้วยการสัมภาษณ์นายววาทิต ไทรวิมานผู้เป็นเจ้าของ และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินธุรกิจที่ผ่านมาในอดีต ผลการศึกษาสภาพแวดล้อมในการแข่งขันของธุรกิจผลิตเครื่องดนตรีไทย พบว่าสภาพแวดล้อมทั่วไป มีปัจจัยที่เป็นโอกาสในการดำเนินธุรกิจ ได้แก่ ด้านนโยบายภาครัฐ และด้านเทคโนโลยี และปัจจัยที่เป็นอุปสรรคในการดำเนินธุรกิจ ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและวัฒนธรรม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านกฎหมาย และวิเคราะห์สภาวะการแข่งขันในอุตสาหกรรมด้วยแบบจำลองแรงผลักดันทั้งห้าประการ พบว่าโดยรวมแล้วทั้งห้าด้านส่งผลกระทบเชิงลบซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินธุรกิจ ผลการศึกษาปัจจัยที่ทำให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขันของ หจก. ประดิษฐกรรมด้วยเครื่องจักร ดุริยางค์ไทยอุตสาหกรรม พบว่ามีปัจจัยที่เป็นความได้เปรียบในการแข่งขัน 4 ประการ ได้แก่ มีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้จำหน่ายวัตถุดิบ ฐานกลุ่มลูกค้าที่มีความภักดีต่อตราสินค้า คุณค่าของตราสินค้า และมีความสามารถเชิงพลวัต และพบว่ามีปัจจัยที่เป็นความเสียเปรียบในการแข่งขัน 3 ประการ ได้แก่ สินค้าขาดความแตกต่างจากคู่แข่ง ขาดความโดดเด่นในเครื่องดนตรีชนิดในชนิดหนึ่ง พึ่งพาฝีมือของมนุษย์ในกระบวนการผลิตมากเกินไป การวางแผนเชิงกลยุทธ์และแนวทางปฏิบัติเพื่อให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขัน โดยแนะนำให้ใช้กลยุทธ์การสร้างความแตกต่างในตลาดเฉพาะในการแข่งขัน และวางตำแหน่งทางการตลาดคือการส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ให้ความรู้สึกทันสมัยและไม่ซ้ำใครให้กับผู้ใช้งาน และมีแนวทางในการดำเนินธุรกิจแบ่งออกเป็นสามระยะได้แก่ ระยะเริ่มต้น ระยะเติมโต ระยะอิ่มตัว และการลดขนาดของธุรกิจ | - |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | - |
dc.subject | การจัดการและกลยุทธ์ | - |
dc.subject | ดนตรีไทย | - |
dc.subject | ความได้เปรียบในการแข่งขัน | - |
dc.subject | การผลิตและจำหน่าย | - |
dc.title | กลยุทธ์ในการดำเนินธุรการผลิตและจำหน่ายเครื่องดนตรีไทย หจก.ประดิษฐกรรมด้วยเครื่องจักรดุริยางค์ไทยอุตสาหกรรม =PRODUCTION AND MARKETING STRATEGIES FOR A MANUFACTURER OF TRADITIONAL THAI MUSICAL INSTRUMENTS : PRADITHAGUM DUAY KRUANGJAK DURIYANGTHAI UTSAHAGUM LIMITED PARTNERSHIP. | - |
dc.type | Thematic Paper | - |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP MS.034 2562.pdf | 1.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.