Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3209
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorภูมิพร ธรรมสถิตย์เดช-
dc.contributor.authorพิมพ์ชนก ไชยรัตน์-
dc.date.accessioned2021-03-23T10:28:17Z-
dc.date.available2021-03-23T10:28:17Z-
dc.date.issued2020-01-17-
dc.identifierTP MS.045 2562-
dc.identifier.citation2562-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3209-
dc.description.abstractนุษย์ รวมทั้งแนวทางการส่งเสริมและผลักดันให้เกิดองค์กรแห่งนวัตกรรม โดยเป็นการศึกษาจากการทบทวนจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาทรัพยากรบุคคลในบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพมหานครจานวน 10 คน โดยถามตอบจากประสบการณ์และมุมมองของกลุ่มตัวอย่าง แล้วนาข้อมูลมาวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยใช้คาถามปลายเปิดจานวน 12 ข้อ ผลการวิจัยเรื่องการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อสนับสนุนให้เกิดองค์กรแห่งนวัตกรรม สามารถสรุปผลการวิจัยออกได้เป็น 2 ประเด็น คือ 1.) ผลการศึกษาสภาพองค์กรสนับสนุนให้เกิดองค์กรแห่งนวัตกรรม องค์กรส่วนใหญ่ให้ความสาคัญกับการพัฒนาบุคลากรภายในก่อนเป็นอันดับแรก ซึ่งจะทาให้การพัฒนาองค์กรมีความเข้มแข็งส่งผลต่อการดาเนินกิจการองค์กรมีความเชื่อพื้นฐานว่าความสามารถในการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลภายในองค์กรให้มีประสิทธิภาพสามารถทาผ่านกระบวนการเสริมศักยภาพด้านต่างๆ เช่น การให้ความรู้ การศึกษา การอบรม การฝึกทักษะให้เกิดความชานาญ จึงจะทาให้เกิดการสร้างวัฒนธรรมและนาไปสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ในที่สุด และ 2.) ผลการสร้างรูปแบบความเป็นองค์กรนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ รูปแบบความเป็นองค์กรนวัตนกรรมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มี 4 องค์ประกอบ และ 16 แผนการพัฒนา-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectการจัดการและกลยุทธ์-
dc.subjectการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์-
dc.subjectองค์กรแห่งนวัตกรรม-
dc.titleการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อสนับสนุนให้เกิดองค์กรแห่งนวัตกรรม =HUMAN RESOURCE DEVELOPMENT TO CREATE THE INNOVATIVE ORGANIZATION.-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP MS.045 2562.pdf630.19 kBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.