Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3319
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorพัลลภา ปีติสันต์-
dc.contributor.authorญาณศรณ์ วิจิตรธาดารัตน์-
dc.date.accessioned2021-03-23T10:46:47Z-
dc.date.available2021-03-23T10:46:47Z-
dc.date.issued2020-03-03-
dc.identifierTP BM.067 2562-
dc.identifier.citation2562-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3319-
dc.description.abstractการศึกษา ในครั้งนี้เป็นการศึกษาและวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในการทำงานของรูปแบบห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ รวมไปถึงรูปแบบในการจัดการความขัดแย้ง โดยมีผู้ให้ข้อมูลเป็นบุคลากรที่ปฏิบัติงานภายในหน่วยงานและปฏิบัติงานร่วมกับห้องปฏิบัติการ ในโรงพยาบาลในสังกัดมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง จำนวน 23 ท่าน และใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทำ Content Analysis ในการเก็บและรวบรวมข้อมูลในการศึกษาครั้งนี้ ผลการศึกษาพบว่าความขัดแย้งที่เกิดขึ้น สามารถพบได้ตั้งแต่ความขัดแย้งระหว่างบุคคล ความขัดแย้งภายในหน่วยงาน และความขัดแย้งระหว่างหน่วยงาน โดยความขัดแย้งระหว่างบุคคล มักเป็นความขัดแย้งที่มีสาเหตุมาจากความเข้ากันไม่ได้ระหว่างบุคคล ในเรื่องบุคลิกภาพและการสื่อสารที่ไม่เป็นมิตร, รูปแบบความขัดแย้งภายในหน่วยงาน มักมีสาเหตุการเกิดมาจากการแบ่งแยกทางความคิดเห็น และทำงานที่ยังไม่ชัดเจน และส่วนสุดท้ายคือรูปแบบความขัดแย้งระหว่างหน่วยงาน ซึ่งมีสาเหตุของการเกิดความขัดแย้งที่หลากหลาย เนื่องจากในแต่ละหน่วยงานมักจะมีวัตถุประสงค์ในการทำงานที่แตกต่างกัน มีความรู้ ความเข้าใจที่แตกต่างกัน มีผลประโยชน์ที่ไม่ลงตัว อีกทั้งระบบการทำงานที่ไม่สอดคล้องกัน ฯลฯ โดยสามารถพบได้ทั้ง ความขัดแย้งระหว่างพยาบาล ความขัดแย้งระหว่างแพทย์ ความขัดแย้งกับห้องปฏิบัติงานภายนอก และอื่นๆ นอกจากนี้ยังพบว่าบุคลากรมักจะเลือกใช้การจัดการในรูปแบบการร่วมมือกัน การประนีประนอม และการโอนอ่อน/ยอมตาม ตามลำดับ ในขณะเดียวกันก็มีการเลือกใช้วิธีการหลีกหนีหรือหลีกเลี่ยงในการจัดการกับปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นได้เช่นกัน แต่ไม่พบการใช้วิธีรูปแบบการแข่งขันในการจัดการกับปัญหาความขัดแย้ง ข้อมูลที่ได้รับจากการศึกษาในครั้งนี้ สามารถนำไปเป็นแนวทางในการทำงาน กำหนดกลยุทธ์ในการจัดการกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นอย่างสร้างสรรค์ บุคลากรทางการแพทย์สามารถประยุกต์ใช้ในการจัดการกับความขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม ผู้บริหารสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ ที่จะรับมือและจัดการกับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectการจัดการธุรกิจ-
dc.subjectห้องปฏิบัติการ-
dc.subjectความขัดแย้ง-
dc.subjectบุคลากรทางการแพทย์-
dc.titleการศึกษาปัญหาความขัดแย้งและการจัดการปัญหาความขัดแย้งของผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ในบริบทของห้องปฏิบัติการทางการแพทย์-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP BM.067 2562.pdf1.42 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.