Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4108
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorธนพล วีราสา-
dc.contributor.authorอรุษ, คิรินทร์ภาณุ-
dc.date.accessioned2021-10-25T06:57:18Z-
dc.date.available2021-10-25T06:57:18Z-
dc.date.issued2021-10-25-
dc.identifier.otherTP BM.023 2564-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4108-
dc.description53 แผ่นen_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ประโยชน์ การรับรู้ความสะดวก ในการใช้งาน การรับรู้ทัศนคติในการใช้งาน และการรับรู้ความตั้งใจในการใช้งานแอปพลิเคชันทางการเงินใน โทรศัพท์มือถือ โดยมีกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดจำนวน 200 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามสำหรับกลุ่มตัวอย่างที่ใช้บริการธุรกรรมทางการเงิน โมบายแบงก์กิ้งแอปพลิเคชัน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวม รวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปสถิติที่ใช้ในการวิจัย ข้อมูลลักษณะส่วนบุคคลใช้สถิตแบบพรรณนา (Descriptive statistic) โดยการหาค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentages) และการวิเคราะห์เพื่อทดสอบสมมติฐานใช้ วิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย (Simple Linear Regression) และการถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้ความสะดวกในการใช้ การรับรู้ทัศนคติในการใช้งานของผู้ใช้บริการเป็นปัจจัยเชิงบวกต่อ การรับรู้ทัศนคติในการใช้งาน Mobile Banking Application ของผู้ใช้บริการ นอกจากนี้งานวิจัยนี้ยังแสดงให้เห็นว่า การรับรู้ทัศนคติในการใช้งานของผู้ใช้บริการ เป็นตัวแปรส่งผ่านในความสัมพันธ์ระหว่าง การรับรู้ประโยชน์ กับการรับรู้ความตั้งใจในการใช้ Mobile Banking Application และเป็นตัวแปรส่งผ่านในความสัมพันธ์ระหว่าง การรับรู้ความสะดวกกับการรับรู้ความตั้งใจในการใช้ Mobile Banking Application อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการจัดการธุรกิจen_US
dc.subjectการรับรู้ประโยชน์en_US
dc.subjectทัศนคติen_US
dc.subjectMobile Banking Applicationen_US
dc.titleการศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ประโยชน์ การรับรู้ความสะดวกในการใช้งาน การรับรู้ทัศนคติในการใช้งานen_US
dc.title.alternativeThe study on relationships among, Perceived Usefulness, Perceived Ease of Use, Perceived Attitude Toward to Use and Perceived Intention to Use Mobile Banking Applicationen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP BM.023 2564.pdf1.3 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.