Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4239
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorณัฐวุฒิ พิมพา-
dc.contributor.authorพิมพ์ชนก, บุญอินทร์-
dc.date.accessioned2021-12-23T07:27:01Z-
dc.date.available2021-12-23T07:27:01Z-
dc.date.issued2021-10-22-
dc.identifier.otherTP MS.050 2564-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4239-
dc.description104 แผ่นen_US
dc.description.abstractผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) มีบทบาทเป็นอย่างมากต่อระบบเศรษฐกิจของ ประเทศไทย ทั้งด้านการผลิต การจ้างงาน การลงทุน และเพื่อให้สามารถพัฒนา SME และขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยได้อย่างยั่งยืน ผู้ประกอบการ SME จะต้องพัฒนาธุรกิจด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี แม้ว่าแนวโน้มผู้ประกอบการในประเทศไทยจะเริ่มหันมาให้ความสำคัญกับการลงทุนด้านการพัฒนานวัตกรรมและงานวิจัยเพิ่มมากขึ้น แต่เมื่อเทียบสัดส่วนดังกล่าวกับจำนวน SME ที่มีอยู่ในประเทศไทยกว่า 3 ล้านรายแล้ว กลับพบว่ามีไม่ถึงร้อยละ 1 หรือไม่ถึง 30,000 ราย ที่มีการใช้งานวิจัยและนวัตกรรมเข้ามาเปลี่ยนแปลงธุรกิจ จึงเป็นเรื่องที่น่าสนใจว่าปัจจัยใดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจในการนำนวตักรรมไปใช้ในวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม (SMEs) การศึกษาในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและขั้นตอนการยอมรับ นวัตกรรมที่วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ทั้งปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ของ SME ปัจจัยความเป็นผู้ประกอบการ และปัจจัยภายนอก โดยการวิจัยเชิงปริมาณ และใช้แบบสอบถามออนไลน์ในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่สมัครโครงการนวัตกรรมแบบเปิดของสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ทั้งหมด 205 ราย โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิง อนุมานในการตรวจสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยด้านระยะเวลาดำเนินกิจการ จำนวนพนักงานในองค์กร รายได้ต่อปี และรูปแบบการจดทะเบียนของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ส่งผลต่อการตัดสินใจในการนำนวตักรรมไปใช้ในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) นอกจากนี้ยังพบว่าปัจจัยความเป็นผู้ประกอบการทั้งด้านโครงสร้างองค์กร ความก้าวร้าวในการแข่งขัน และความกล้าเสี่ยง มีความสัมพันธ์กับขั้นตอนการยอมรับนวัตกรรม และปัจจัยภายนอกด้านภาครัฐ ด้านเทคโนโลยี ด้านเงินทุน และด้านภาคธุรกิจ มีความสัมพันธ์กับขั้นตอนการยอมรับนวัตกรรมเช่นกัน ทั้งนี้เพื่อพัฒนาองค์กรให้ก้าวล้ำนำคู่แข่งอยู่เสมอ และสามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยให้ยั่งยืนen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการจัดการและกลยุทธ์en_US
dc.subjectผู้ประกอบการen_US
dc.subjectปัจจัยภายนอกen_US
dc.subjectการยอมรับนวัตกรรมen_US
dc.titleการเปลี่ยนพฤติกรรมการซื้อสินค้าจากออฟไลน์ไปสู่ออนไลน์ และความเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง ของผู้บริโภคในธุรกิจค้าปลีกen_US
dc.title.alternativeBEHAVIORAL SWITCH FROM OFFLINE TO ONLINE AND RELATED-RISKS AMONG CONSUMERS IN RETAIL BUSINESSen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP MS.050 2564.pdf1.08 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.