Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4392
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorปิยภัสร ธาระวานิช-
dc.contributor.authorกานต์ธิดา, จีระทรัพย์-
dc.date.accessioned2022-06-09T06:47:05Z-
dc.date.available2022-06-09T06:47:05Z-
dc.date.issued2021-10-28-
dc.identifier.otherTP FM.032 2564-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4392-
dc.description74 แผ่นen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาความสัมพันธ์ของห้าปัจจัยในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ระหว่าง ปัจจัยด้านสภาพคล่องที่ถูกวัดโดย Amihud Illiquidity Ratio และปัจจัยที่ไม่ใช่สภาพคล่อง ( Non- Liquidity ) 4 ปัจจัยได้แก่ ปัจจัยอัตราผลตอบแทนส่วนเกินของตลาด (Market Risk Premium : MRP), ปัจจัยด้านขนาดของบริษัท (Small Minus Big : SMB), ปัจจัยด้านมูลค่า (High Minus Low : HML) และ โมเมนตัม (Momentum : WML) ที่ส่งผลต่ออัตราผลตอบแทนส่วนเกินของกลุ่มหลักทรัพย์ของบริษัท ในดัชนี SET100 ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ด้วยวิธีไม่ถ่วงน้ำหนัก (Equal Weighted) ผลการศึกษา พบว่าหลักทรัพย์สภาพคล่องต่ำให้อัตราผลตอบแทนน้อยกว่ากว่า หลักทรัพย์สภาพคล่องสูง โดยให้อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยเท่ากับ -13.7272% ต่อปี ซึ่งให้ผลตรงกันข้าม กับงานวิจัยในตลาดหลักทรัพย์ไทยของ Uphaiprom (2014)en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการเงินen_US
dc.subjectสภาพคล่องen_US
dc.subjectแบบจำลองกำหนดราคาหลักทรัพย์en_US
dc.subjectAmihud Illiquidity Ratioen_US
dc.titleสภาพคล่องที่ถูกวัดโดยค่าเฉลี่ยของอัตราส่วนระหว่างค่าสัมบูรณ์ของผลตอบแทนต่อมูลค่าการซื้อขาย (Illiquidity Ratio, Amihud 2002) และแบบจำลองกำหนดราคาหลักทรัพย์ดัชนี SET 100 ประเทศไทยen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP FM.032 2564.pdf1.46 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.