Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4394
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | ปิยภัสร ธาระวานิช | - |
dc.contributor.author | วริสรา, วรสาร | - |
dc.date.accessioned | 2022-06-09T07:04:15Z | - |
dc.date.available | 2022-06-09T07:04:15Z | - |
dc.date.issued | 2021-10-28 | - |
dc.identifier.other | TP FM.034 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4394 | - |
dc.description | 125 แผ่น | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ศึกษาความสัมพันธ์ของห้าปัจจัยในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ระหว่างปัจจัยด้านสภาพคล่องที่ถูกวัดโดยสามตัวแทน ได้แก่ มูลค่าการซื้อขาย (Trading Value), อัตราการการหมุนของหลักทรัพย์ (Turnover Ratio) และ Amihud Illiquidity Ratio และปัจจัยที่ไม่ใช่สภาพคล่อง (Non-Liquidity) 4 ปัจจัยได้แก่ ปัจจัยอัตราผลตอบแทนส่วนเกินของตลาด (Market Risk Premium : MRP), ปัจจัยด้านขนาดของบริษัท (Small Minus Big : SMB), ปัจจัยด้านมูลค่า (High Minus Low : HML) และโมเมนตัม (Momentum : WML) ที่ส่งผลต่ออัตราผลตอบแทนส่วนเกินของกลุ่มหลักทรัพย์ของบริษัทในดัชนี SET100 ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ด้วยวิธีไม่ถ่วงนํ้าหนัก (Equal Weighted) ผลการศึกษา พบว่า หลักทรัพย์ที่มีสภาพคล่องตํ่าให้อัตราผลตอบแทนมากกว่าหลักทรัพย์สภาพคล่องสูง ซึ่งปัจจัยด้านสภาพคล่องที่ถูกวัดด้วยมูลค่าการซื้อขาย (Trading Value) หรือ LIQ1 และปัจจัยด้านสภาพคล่องที่ถูกวัดด้วยอัตราการหมุนของหลักทรัพย์ (Turnover Ratio) หรือ LIQ2 ให้อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยเท่ากับ 3.1319% และ 7.8627% ต่อปีตามลำดับ ในขณะที่ปัจจัยด้านสภาพคล่องที่ถูกวัดด้วยเฉลี่ยของอัตราส่วนระหว่างค่าสัมบูรณ์ของผลตอบแทนต่อมูลค่าการซื้อขาย (Amihud Illiquidity Ratio) หรือ LIQ3 ให้ผลตรงกันข้าม โดยหลักทรัพย์สภาพคล่องตํ่าให้อัตราผลตอบแทนน้อยกว่ากว่าหลักทรัพย์สภาพคล่องสูง ให้อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยเท่ากับ -13.7272% ต่อปี ซึ่งความแตกต่างของผลลัพธ์ระหว่างปัจจัยด้านสภาพคล่องที่ต่างกันทั้งสาม มีที่มาจากตัวแทนสภาพคล่องซึ่งมีสูตรคำนวณที่มีความแตกต่างกันมาก สำหรับอัตราผลตอบแทนของ Amihud Illiquidity Ratio (LIQ3) ที่เป็นลบให้ผลตรงกันข้ามกับงานวิจัยในตลาดหลักทรัพย์ไทยของ Uphaiprom (2014) | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | การเงิน | en_US |
dc.subject | สภาพคล่อง | en_US |
dc.subject | แบบจำลองกำหนดราคาหลักทรัพย์ | en_US |
dc.title | สภาพคล่องและแบบจำลองกำหนดราคาหลักทรัพย์ดัชนี SET 100 ประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | LIQUIDITY AND ASSET PRICING MODEL IN THAILAND STOCK MARKET | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP FM.034 2564.pdf | 2.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.