Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4807
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | ศิริสุข รักถิ่น | - |
dc.contributor.author | พงศ์พิทักษ์, พงศ์สุวรรณ | - |
dc.date.accessioned | 2023-01-21T02:57:59Z | - |
dc.date.available | 2023-01-21T02:57:59Z | - |
dc.date.issued | 2022-09-24 | - |
dc.identifier.other | TP MS.027 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4807 | - |
dc.description | 62 แผ่น | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงแนวทางการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ กรณีศึกษาเอกชนแห่งหนึ่งในธุรกิจ ค้าปลีกยาสามัญ เวชภัณฑ์ วิตามิน และผลิตภัณฑ์อาหารเสริมในช่วงระหว่างการแพร่ระบาดของโควิด-19 รวมถึงศึกษาถึงปัจจัยแวดล้อมที่มีผลต่อการดำเนินการของธุรกิจที่นำไปสู่การวางกลยุทธ์การปรับตัวทางธุรกิจและทิศทางขององค์กรของธุรกิจค้าปลีกสินค้าหมวดสุขภาพในการเผชิญภาวะวิกฤติโรคระบาดและอนาคตภายใต้ความปกติใหม่ (New Normal) โดยเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) กลุ่มตัวอย่างที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจสินค้าหมวดสุขภาพ จำนวนทั้งสิ้น 2 กลุ่ม แบ่งเป็นกลุ่มพนักงานของบริษัทฯ กรณีศึกษา 5 คน และ พนักงานของบริษัทร้านค้าพาร์ทเนอร์ 7 คน แล้วจึงนำข้อมูลมาวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) นำไปสู่การศึกษาการปรับตัวเชิงกลยุทธ์และทิศทางของธุรกิจทั้งในช่วงระหว่างและหลังจากการประเผชิญภาวะวิกฤติการแพร่ระบาดของโควิด-19 ผลการศึกษาพบว่า ผลกระทบต่อการดำ เนินธุรกิจสินค้าหมวดสุขภาพ ในด้านภัยคุกคามจากการแข่งขันในธุรกิจสินค้าหมวดสุขภาพ นโยบายของภาครัฐ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และด้านเทคโนโลยี ทั้งที่เป็นโอกาสและอุปสรรคในการดำเนินธุรกิจ รวมถึงการปรับตัวด้านการดำเนินธุรกิจ ด้านการดำเนินงาน กาตลาดและการขาย การจัดการทรัพยากรบุคคล และด้านโครงสร้างพื้นฐานขององค์กรและการพัฒนาเทคโนโลยี ที่มีทั้งจุดแข็งและจุดอ่อนของศักยภาพองค์กรในการปรับตัว โดยสามารถนำมาสรุปเป็นบทเรียนการปรับตัวเชิงกลยุทธ์ผ่านเครื่องมือ TOWS Matrix แบ่งออกเป็น 2 ด้าน คือ กลยุทธ์เชิงรุกด้านการตลาด ได้แก่ กลยุทธ์การสร้างคุณค่าให้กับสินค้าด้วยการใช้เทคโนโลยีและพนักงานเพื่อการติดตามข่าวสารและจัดจำหน่ายสินค้าหมวดสุขภาพตามกระแสผ่านช่องทางร้านสะดวกซื้อ กลยุทธ์สื่อสารสุขภาพที่ผ่านช่องทางออนไลน์ และ กลยุทธ์เชิงป้องกันด้านการดำเนินงานได้แก่ กลยุทธ์การปรับตัวองค์กรร่วมกับบริษัทร้านค้าพาร์ทเนอร์เพื่อเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรให้สามารถรองรับกับ ความเปลี่ยนแปลงนี้ผ่านการประยุกต์นำเทคโนโลยีมาใช้กับกระบวนการดำเนินงาน กลยุทธ์พันธมิตรทางธุรกิจและนโยบายแชร์ข้อมูลระหว่างองค์กรเพื่อสามารถปรับตัวได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น รวมถึงกลยุทธ์ด้านความปลอดภัยจากนโยบายป้องกันโรคระบาดของช่องทางจัดจำหน่ายเพื่อให้ลูกค้ามั่นใจในความปลอดภัย | en_US |
dc.language.iso | ศิริสุข รักถิ่น | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | การจัดการและกลยุทธ์ | en_US |
dc.subject | กลยุทธ์การปรับตัว | en_US |
dc.subject | ทิศทางขององค์กร | en_US |
dc.subject | สินค้าหมวดสุขภาพ | en_US |
dc.subject | ภาวะวิกฤติ | en_US |
dc.subject | โควิด-19 | en_US |
dc.title | กรณีศึกษากลยุทธ์การปรับตัวและทิศทางขององค์กรในธุรกิจค้าปลีกสินค้าหมวดสุขภาพในระหว่างการแพร่ระบาดของโควิด-19 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP MS.027 2565.pdf | 1.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.