Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4822
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | สุภรักษ์ สุริยันเกียรติแก้ว | - |
dc.contributor.author | เกมเกียรติ์, ซกซื่อ | - |
dc.date.accessioned | 2023-01-21T08:52:01Z | - |
dc.date.available | 2023-01-21T08:52:01Z | - |
dc.date.issued | 2022-09-19 | - |
dc.identifier.other | TP BM.084 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4822 | - |
dc.description | 116 แผ่น | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ทา การศึกษาปัจจัยด้านสุขภาวะที่ดีและความสุขขององค์กรที่ส่งผลกระทบต่อความยั่งยืนของกลุ่มพนักงานเจ เนอเรชั่นวาย บริษัทเอกชนในประเทศไทย จำนวน 140 คน ตามแนวคิด Gross National Happiness และ Sustainability Performance Outcomes ของผศ.ดร. สุภรักษ์ สุริยันเกียรติแก้ว (Suriyankietkaew, 2021) โดยวิเคราะห์ผ่านความคิดเห็นต่อองค์กร ความสุขขององค์กร ผลลัพธ์ของการดำเนินงานขององค์กร และนำข้อมูลจากการศึกษาใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้บริหารบริษัทเอกชนในประเทศไทย สามารถนำข้อมูลที่ได้ไปใช้พัฒนาและปรับปรุงการวางแผนกลยุทธ์องค์กร พัฒนาคุณภาพชีวิตของพนักงาน ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพื่อสร้างความสำเร็จที่ยั่งยืนให้แก่องค์กรต่อไป งานวิจัยครั้ง นี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ โดยวิเคราะห์ผ่านความคิดเห็นของพนักงานเจเนอเรชั่นวาย บริษัทเอกชนในประเทศไทย จำนวน 140 คน และนำข้อมูลที่ได้มาทำการวิเคราะห์ผ่านโปรแกรมสถิติสำเร็จรูป SPSS และ SMART PLS รุ่น 4 และแปลผลควบคู่การวิเคราะห์ข้อมูล ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่าปัจจัยด้านสุขภาวะที่ดี (Well-Being) ทั้ง 9 ปัจจัยประกอบด้วย ปัจจัยความเป็นอยู่ที่ดีทางจิตวิทยา (Psychological Wellbeing-PS), ปัจจัยด้านสุขภาพ (Health-HE), ปัจจัยด้านการใช้เวลา (Time Use-TU), ปัจจัยด้านการศึกษา (Education - ED), ปัจจัยด้านมาตรฐานการครองชีพ (Living Standard-LI), ปัจจัยด้านธรรมาภิบาล (Good Governance-GG), ปัจจัยด้านความหลากหลายทางวัฒนธรรมและความสามารถในการรับมือความเปลี่ยนแปลง (Cultural Diversity and Resilience-CD), ปัจจัยด้านสุขภาพชุมชน (Community Vitality-CV), ปัจจัยด้านความหลากหลายทางนิเวศวิทยาและความสามารถในการรับมือความเปลี่ยนแปลง (Ecological Diversity-EC) พบว่ามี 3 ปัจจัย คือ ปัจจัยความเป็นอยู่ที่ดีทางจิตวิทยา (Psychological Wellbeing-PS), ปัจจัยด้านการใช้เวลา (Time Use-TU) และ ปัจจัยด้านมาตรฐานการครองชีพ (Living Standard-LI) เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขภาวะที่ดีและความสุขภายในองค์กร (Workplace Happiness) ซึ่งส่งต่อผลลัพธ์ของการดำเนินงานในองค์กร (Sustainable Performance Outcome: SPO) ประกอบด้วย ชื่อเสียงขององค์กร (Corporate Reputation) ปัจจัยด้านภาพลักษณ์ของแบรนด์ (Brand Image) ผลการดำเนินงานทางการเงิน (Financial Performance) และ ปัจจัยด้านสุขภาวะทางด้านจิตใจ (Psychological wellbeing) | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | การจัดการธุรกิจ | en_US |
dc.subject | สุขภาวะที่ดี | en_US |
dc.subject | ความสุขขององค์กร | en_US |
dc.subject | ความยั่งยืน | en_US |
dc.subject | เจเนอเรชั่นวาย | en_US |
dc.title | ปัจจัยด้านสุขภาวะที่ดีและความสุขขององค์กรที่ส่งผลกระทบต่อความยั่งยืนของกลุ่มพนักงานเจเนอเรชั่นวาย บริษัทเอกชนในประเทศไทย | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP BM.084 2565 (2).pdf | 2.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.