Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/497
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorมลฤดี สระฏัน-
dc.contributor.authorมัญชรีภรณ์ บุษบา-
dc.date.accessioned2021-03-19T09:11:52Z-
dc.date.available2021-03-19T09:11:52Z-
dc.date.issued2014-05-20-
dc.identifierTP HOM.014 2556-
dc.identifier.citation2556-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/497-
dc.description.abstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทฤษฎีภาวะผู้นำ เครื่องมือในการประเมิน บุคลิกภาพ และแนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นำ ด้วยการนำเสนอทฤษฎีทางจิตวิทยา และใช้เครื่องมือในการประเมินและผลทางจิตวิทยา (Psychometric Assessment) เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์และต่อยอดในการทำแผนพัฒนาตนเอง เพื่อเสริมสร้างภาวะผู้นำให้มีประสิทธิภาพ การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงพรรณา เก็บรวบรวมข้อมูลจากเลขานุการผู้บริหารระดับสูงของบริษัทเอกชนข้ามชาติ ประเภทธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม โดยใช้เครื่องมือในการประเมินและผลทางจิตวิทยา (Psychometric Assessment) คือThe Work Behaviour Inventory (WBI) และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ทฤษฎีบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ (The Big Five Theory) จากการศึกษาครั้งนี้พบว่าผู้รับการประเมินมีจุดแข็งที่สามารถส่งเสริมหรือเพิ่มศักยภาพภาวะผู้นำคือ ด้าน Innovation, Independence และ Emotional Awareness ส่วนด้านที่ควรปรับปรุงคือ Dependability, Rule following และ Self Confident คำสำคัญ : ทฤษฎีบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ (The Big Five Theory) The Work Behaviour Inventory (WBI) / แผนพัฒนาตนเอง (Development Action Plan DAP)-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectLeadership and Human Resource Management-
dc.subjectทุนมนุษย์และการจัดการองค์กร-
dc.subjectจิตวิทยา-
dc.subjectบริษัทข้ามชาติ-
dc.subjectThe Big Five Theory-
dc.subjectแผนพัฒนาตนเอง-
dc.titleการพัฒนาภาวะผู้นำโดยการใช้แบบประเมินทางจิตวิทยาและการจัดทำแผนพัฒนาตนเอง: กรณีศึกษาเลขานุการผู้บริหารระดับสูงของบริษัทเอกชนข้ามชาติประเภทธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP HOM.014 2556.pdf871.83 kBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.