Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/531
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิพัฒน์ภา คำเจริญ-
dc.date.accessioned2021-03-19T09:12:33Z-
dc.date.available2021-03-19T09:12:33Z-
dc.date.issued2014-05-21-
dc.identifierTP MS.020 2556-
dc.identifier.citation2556-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/531-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาแนวทางและจัดทำกลยุทธ์ต่างๆเพื่อลด ความเสี่ยงและสร้างความสามารถในการแข่งขันให้กับบริษัท ยูเซ็น โลจิสติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด โดยผู้ศึกษาได้มีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแผนกบัญชีของบริษัทในส่วนของรายได้จากลูกค้าแยก เป็นกลุ่มธุรกิจและเฉพาะเจาะจง เพื่อวิเคราะห์รายได้และลูกค้าของบริษัท พร้อมทั้งศึกษาหลักการ ของทฤษฎีและกลยุทธ์ต่างๆจากตำราวิชาการ ผลจากการศึกษาในครั้งนี้พบว่าค่านิยมคนญี่ปุ่นมี อิทธิพลต่อการเลือกบริษัทคู่ค้า และลูกค้ามีอยู่หลายธุรกิจ เช่น ธุรกิจยานยนต์และอะไหล่ยนต์ ธุรกิจอิเล็กทรอนิคและอะไหล่ ธุรกิจเคมีภัณฑ์ ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม ธุรกิจสินค้าอุปโภค บริโภค ธุรกิจโรงงานอุตสาหกรรม จากการวิเคราะห์ผู้ศึกษาเห็นว่าบริษัทควรทำการกระจายธุรกิจเพื่อลดความเสี่ยง โดย การใช้กลยุทธ์การเจาะตลาด การพัฒนาสินค้าและบริการ กฎ80/20 การทำพันธมิตรทางธุรกิจ และ กลยุทธ์การเป็นผู้นำด้านต้นทุน เนื่องจากการให้ความสำคัญกับกลุ่มธุรกิจยานยนต์และอะไหล่ยนต์ เป็นสำคัญมากเกินไปจะทำให้ขาดความสนใจในกลุ่มธุรกิจอื่นๆและถ้าหากในอนาคตกลุ่มลูกค้า ธุรกิจยานยนต์และอะไหล่ยนต์เกิดเปลี่ยนไปใช้บริการคู่แข่งจะส่งผลกระทบต่อรายได้ของบริษัท เป็นอย่างมาก และการให้บริการที่มีประสิทธิภาพนั้นจะเป็นแรงจูงใจให้ลูกค้าสนใจและไว้วางใจ คำสำคัญ: ลดความเสี่ยง / การกระจายธุรกิจ / บริษัท ยูเซ็น โลจิสติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectManagement ang Strategy-
dc.subjectความเสี่ยง-
dc.subjectธุรกิจ-
dc.titleกลยุทธ์เพื่อลดความเสี่ยงโดยการกระจายธุรกิจของ บริษัท ยูเซ็นโลจิสติกส์ (ประเทศไทย) จำกัด-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP MS.020 2556 (1).pdf644.83 kBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.