Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5456
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | ปิยภัสร ธาระวานิช | - |
dc.contributor.author | เปรมปรีดิ์ ศรียุทธไกร | - |
dc.date.accessioned | 2024-09-03T06:19:47Z | - |
dc.date.available | 2024-09-03T06:19:47Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.other | TP FM.023 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5456 | - |
dc.description | 72 แผ่น | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณการซื้อขายใบรับรองการผลิตพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy Certificate - REC) ที่ผลิตจากไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในไทย โดยรวบรวมตัวแปรจากทฤษฎีต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง ได้แก่ ทฤษฎีกฎของอุปสงค์ (Law of Demand Theory), ทฤษฎีกฎของอุปทาน (Law of Supply Theory), การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพของตลาด, ทฤษฎีอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น (Cross demand theory), โดยให้ความสําคัญ เป็นพิเศษกับสี่ปัจจัย ปัจจัยแรกคือปริมาณ REC ที่ผลิตจากไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในไทย ปัจจัยต่อมาคือราคา REC จากตลาด Indian Energy Exchange Limited (IEX) แปลงเป็นเงินบาท ปัจจัยที่สาม คือ ปริมาณ การผลิตไฟฟ้าพลังงานทดแทน จากประเทศไทย และปัจจัยที่สี่คือปริมาณการใช้ไฟฟ้าของประเทศไทย การศึกษาใช้เทคนิค Ordinary Least Squares (OLS) model ในการศึกษาข้อมูล REC ที่ผลิตขึ้นในประเทศไทย ใช้ข้อมูลเป็นรายเดือน ตั้งแต่เดือนมกราคม 2561 จนถึงมิถุนายน 2566 ผลการศึกษาพบว่าการเพิ่มปริมาณการผลิต REC ที่ผลิตจากไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในไทยสามารถ เพิ่มปริมาณ การซื้อขาย REC ที่ผลิตจากไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในไทยได้ ดังนั้นการมีโครงการที่ส่งเสริมการผลิต REC ที่ผลิต จากไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในไทย จึงเป็นหนึ่งในแนวทางที่สามารถพัฒนาตลาดการซื้อขาย REC ของประเทศไทยได้ ทั้งนี้การเพิ่มราคาขาย REC จะเป็นการลดปริมาณการซื้อขาย REC ที่ผลิตจากไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในไทย ซึ่งถ้ามี การแทรกแซงราคาจากภาครัฐโดยการกําหนดราคาขั้นสูงอาจช่วยจูงใจให้มีการใช้งาน REC ในตลาดได้มากขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่าการเพิ่มปริมาณการผลิตไฟฟ้าทดแทนจะสามารถเพิ่มปริมาณการซื้อขาย REC ที่ผลิตจากไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ในไทยได้ ดังนั้นการมีโครงการที่ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน จึงเป็นหนึ่งในแนวทางที่ สามารถ พัฒนาตลาดการซื้อขาย REC ของประเทศไทยได้ อย่างไรก็ตามไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการใช้ไฟฟ้า กับปริมาณการซื้อขาย REC ที่ผลิตจากไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในไทย ซึ่งหมายความว่าตลาด REC ของไทยในปัจจุบัน ที่อยู่ในรูปแบบของตลาดภาคสมัครใจยังไม่สามารถกระตุ้นให้ผู้ใช้ไฟฟ้าใช้งาน REC ที่ผลิตจากไฟฟ้าพลังงาน แสงอาทิตย์ในไทยได้อย่างมีนัยสําคัญ ดังนั้นมาตรการภาคบังคับจากหน่วยงานภาครัฐอาจจะมีความจําเป็นในการ พัฒนาตลาด REC ของประเทศไทยต่อไป | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | การเงิน | en_US |
dc.subject | Renewable Energy Certificate | en_US |
dc.subject | REC | en_US |
dc.subject | International REC Standard | en_US |
dc.subject | I-REC | en_US |
dc.subject | ก๊าซเรือนกระจก | en_US |
dc.title | การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการซื้อขาย ใบรับรองการผลิตพลังงานหมุนเวียน Renewable Energy Certificate (REC) ที่ผลิตจากไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และปัจจัยที่มีผลต่อตลาดไฟฟ้าเสรีในประเทศไทย | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP FM.023 2566.pdf | 1.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.