Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5491
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorปิยภัสร ธาระวานิช-
dc.contributor.authorชนกนันท์ วัชรนันทุ์-
dc.date.accessioned2024-10-08T06:08:58Z-
dc.date.available2024-10-08T06:08:58Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.otherTP FM.030 2566-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5491-
dc.description50 แผ่นen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการขายชอร์ตกับผลตอบแทนของหลักทรัพย์ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยหากสามารถทำธุรกรรมขายชอร์ตได้อย่างอิสระหรือไม่มี ข้อจำกัดในการขายชอร์ต หลักทรัพย์ที่ถูกขายชอร์ตมากจะสะท้อนผลตอบแทนของหลักทรัพย์ในอนาคต ลดลง และมีค่าแอลฟ่าเป็นลบ โดยทำการทดสอบทางสถิติด้วยวิธีสมการถดถอยเชิงเส้นตรงในหลักทรัพย์ ที่อนุญาตให้ขายชอร์ตได้ในช่วงปี 2555 ถึง 2565 โดยหาค่าแอลฟ่าในกลุ่มหลักทรัพย์ต่างๆที่ถูกจัดกลุ่มด้วย อัตราส่วนปริมาณหลักทรัพย์ที่ขายชอร์ตต่อปริมาณการซื้อขายหลักทรัพย์เฉลี่ยรายวันของแต่ละเดือน ผลการศึกษาผลตอบแทนในระยะเวลา 1 เดือนหลังจากการจัดกลุ่ม พบว่ากลุ่มหลักทรัพย์ที่ไม่มี การขายชอร์ต (NS) กลุ่มหลักทรัพย์ที่มีการขายชอร์ตในระดับต่ำ (L) และกลุ่มหลักทรัพย์ที่มีการขายชอร์ตในระดับสูง (H) ทั้งสามกลุ่มมีค่าแอลฟ่าเฉลี่ยสะสมเป็นลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การจัดพอร์ตแบบถ่วงน้ำหนักเท่ากัน พบว่าค่าแอลฟ่าของกลุ่ม L (-1.71% ต่อเดือน) ติดลบมากกว่ากลุ่ม H (-1.49% ต่อเดือน) และ กลุ่ม NS (-1.41% ต่อเดือน) ส่วนการจัดพอร์ตแบบถ่วงน้ำหนักตามมูลค่าตลาด พบว่าค่าแอลฟ่าของกลุ่ม NS (-1.98% ต่อเดือน) ติดลบมากกว่ากลุ่ม H (-1.48% ต่อเดือน) และกลุ่ม L (-1.04% ต่อเดือน) ซึ่งการจัดพอร์ตทั้งสอง ให้ผลการศึกษาไม่สอดคล้องกัน กล่าวคือ ปริมาณการขายชอร์ตอาจไม่สามารถคาดการณ์ผลตอบแทนในอนาคตได้en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการเงินen_US
dc.subjectธุรกรรมการขายชอร์ตen_US
dc.subjectตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยen_US
dc.subjectผลกระทบการขายชอร์ตen_US
dc.titleการศึกษาผลกระทบของการขายชอร์ตต่อผลตอบแทนของหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ด้วยแบบจำลองกำหนดราคาหลักทรัพย์หกปัจจัย (6-Factor Asset Pricing Model)en_US
dc.title.alternativeThe study of short selling on stock returns in the stock exchange of Thailand by using the six-factor asset pricing modelen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP FM.030 2566.pdf1.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.