Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/565
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorรวิน ระวิวงศ์-
dc.contributor.authorณภัทร เจียรณัย-
dc.date.accessioned2021-03-19T09:13:30Z-
dc.date.available2021-03-19T09:13:30Z-
dc.date.issued2014-07-10-
dc.identifierTP BM.008 2557-
dc.identifier.citation2557-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/565-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงพฤติกรรมของพนักงานบริษัทที่มีความเสี่ยงในการเป็นโรคออฟฟิศซินโดรมและเพื่อให้พนักงานบริษัทได้รับรู้ถึงพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพที่สามารถช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคออฟฟิศซินโดรม โดยใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสนทนากลุ่มและสัมภาษณ์เชิงลึก โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานบริษัทเอกชนจำนวน 30 คนและนักกายภาพจำนวน 4 คน เพื่อให้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ในระดับที่ลึกและทราบถึงรายละเอียดได้จากประสบการณ์จริงของกลุ่มตัวอย่าง จากการสัมภาษณ์พบว่าพนักงานออฟฟิศส่วนใหญ่มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคออฟฟิศซินโดรมในระดับสูง ปัจจุบันกลุ่มตัวอย่างมีอาการเจ็บปวดบริเวณคอ บ่า ไหล่และกล้ามเนื้ออักเสบ ซึ่งเป็นผลมาจากลักษณะการทำงานที่ต้องใช้คอมพิวเตอร์เป็นเวลานานต่อเนื่องหลายชั่วโมง โดยไม่มีการปรับเปลี่ยนอิริยาบท หรือการใช้งานอุปกรณ์สำนักงานที่ไม่มีความเหมาะสม รวมถึงการมีความเครียดสะสมและความเหนื่อยล้าจากการทำงาน ซึ่งกลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้และทราบถึงผลกระทบจากโรคออฟฟิศซินโดรมต่อสุขภาพ จึงทำให้พนักงานบริษัทเอกชนหันมาสนใจในเรื่องพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพกันมากขึ้น เพื่อที่จะช่วยป้องกันตัวเองจากความเจ็บป่วยเป็นโรคออฟฟิศซินโดรม คำสำคัญ: โรคออฟฟิศซินโดรม/กล้ามเนื้ออักเสบ/เครียด-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectกล้ามเนื้ออักเสบ-
dc.subjectเครียด-
dc.subjectพนักงานเอกชน-
dc.subjectออฟฟิศซินโดรม-
dc.subjectโรค-
dc.titleพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มพนักงานเอกชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคออฟฟิศซินโดรม = Health Promotion Behaviorforthe officerswho haveoffice syndrome risk.-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP BM.008 2557.pdf7.75 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.