Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5800
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | สุเทพ นิ่มสาย | - |
dc.contributor.author | สรวิศ อังคณานุกูล | - |
dc.date.accessioned | 2025-04-30T08:56:48Z | - |
dc.date.available | 2025-04-30T08:56:48Z | - |
dc.date.issued | 2567 | - |
dc.identifier.other | TP MS.061 2567 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5800 | - |
dc.description | 66 แผ่น | en_US |
dc.description.abstract | ตามที่ภาครัฐมีนโยบายให้ประเทศไทยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิให้เป็นศูนย์ภายในปี 2608 (ค.ศ. 2065) นั้นพลังงานไฮโดรเจนถือเป็นพลังงานสะอาดที่เป็นทางเลือกหนึ่งที่จะทำให้ประเทศไทยไปถึงยังเป้าหมายที่ตั้งไว้ แต่อย่างไรก็ดีสำหรับประเทศไทยรถยนต์พลังงานไฮโดรเจน ถือเป็นพลังงานที่มีการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยที่สุดมาใช้งานซึ่งปัจจุบันยังไม่ตอบโจทย์การใช้งาน ของประชาชนรวมไปถึงยังไม่มีเอกชนรายใดมีการนำเข้ารถยนต์พลังงานไฮโดรเจนมาทำตลาดอย่างเป็นทางการ ผู้วิจัยจึงเล็งเห็นถึงความสำคัญว่ามีปัจจัยใดบ้างที่จะทำให้รถยนต์พลังงานไฮโดรเจนเป็นที่ยอมรับในประเทศไทย ผู้วิจัยจึงได้นำแบบจำลองการยอมรับเทคโนโลยี(Technology Acceptance Model) มาเป็นต้นแบบเพื่อใช้ศึกษาปัจจัยต่างๆ ว่ามีปัจจัยด้านใดบ้างที่ทำให้รถยนต์พลังงานไฮโดรเจน เป็นที่ยอมรับในประเทศไทยรวมไปถึงแนะนำกลยุทธ์เพื่อเป็นแนวทางสำหรับให้หน่วยงานภาครัฐและ ภาคเอกชนนำไปปรับใช้เพื่อให้จุดมุ่งหมายของประเทศไทยเป็นจริง | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | การจัดการและกลยุทธ์ | en_US |
dc.subject | รถยนต์พลังงานไฮโดนเจน | en_US |
dc.subject | รถยนต์เซลล์เชื้อเพลิง | en_US |
dc.subject | แบบจำลองการยอมรับเทคโนโลยี | en_US |
dc.title | กลยุทธ์ส่งเสริมการยอมรับรถยนต์พลังงานไฮโดรเจน | en_US |
dc.title.alternative | Strategies to enhance hydrogen vehicle adoption | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP MS.061 2567.pdf | 1.82 MB | Adobe PDF | ![]() View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.