Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/2136
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorปิยภัสร ธาระวานิช-
dc.contributor.authorฉัตรพร คนธิคามี-
dc.date.accessioned2021-03-23T09:45:49Z-
dc.date.available2021-03-23T09:45:49Z-
dc.date.issued2017-05-25-
dc.identifierTP FM.014 2560-
dc.identifier.citation2560-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/2136-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยอัตราผลตอบแทนส่วนเกินของตลาด (Market Risk Premium), ปัจจัยด้านขนาด (Size), ปัจจัยด้านมูลค่า (Value) ที่ถูกวัดโดยอัตราส่วนมูลค่าทางบัญชีต่อมูลค่าตามราคาตลาด (Book to Market Ratio) และปัจจัยด้านโมเมนตัม (Momentum) ที่ส่งผลต่ออัตราผลตอบแทนส่วนเกินของกลุ่มหลักทรัพย์ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ด้วยวิธีถ่วงน้ำหนัก (Value Weighted) และให้ความสำคัญเป็นพิเศษกับปัจจัยด้านโมเมนตัมในหลายช่วงเวลา อันได้แก่ MOM (-12,-2), MOM (-12,-7), MOM (-6,-2) และ MOM (-1,0) ผลการศึกษา พบว่าปัจจัยด้านโมเมนตัม MOM (-12,-7) ให้ผลตอบแทนมากที่สุด เท่ากับ 11.16% ต่อปี ซึ่งผลการศึกษาสอดคล้องกับการศึกษาของ Novy Marx (2012) อย่างไรก็ตาม ทั้ง 4 ปัจจัย ตามที่กล่าวข้างต้น ไม่สามารถอธิบายอัตราผลตอบแทนส่วนเกินของกลุ่มหลักทรัพย์ได้อย่างครบถ้วน เนื่องจากผลจากการทดสอบตามแบบจำลองของ Gibbons-Ross-Shanken Statistic (GRS) Test พบว่า ค่าสถิติที่ได้ปฎิเสธสมมติฐานที่ว่า ค่าคงที่ (α) ของแบบจำลองมีค่าเท่ากับศูนย์ มีนัยสำคัญที่ระดับ 1%-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectแบบจำลองสี่ปัจจัย-
dc.subjectแบบจำลองสามปัจจัย-
dc.subjectกลยุทธ์โมเมนตัม-
dc.titleการทดสอบโมเมนตัม (Momentum) กับกลุ่มหลักทรัพย์ ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย แบบ Value Weighted = IS MOMENTUM REALLY MOMENTUM? : EVIDENCE FROM THAILAND STOCK MARKET (EQUAL WEIGHT).-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP FM.014 2560.pdf1.69 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.