Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/2340
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | พันธ์ณภัทร์ เศวตภาณุวงศ์ | - |
dc.contributor.author | ศิรวิชญ์ วรวณิชชา | - |
dc.date.accessioned | 2021-03-23T09:48:35Z | - |
dc.date.available | 2021-03-23T09:48:35Z | - |
dc.date.issued | 2017-12-17 | - |
dc.identifier | TP MS.019 2560 | - |
dc.identifier.citation | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/2340 | - |
dc.description.abstract | นโยบาย “ประเทศไทย 4.0” ได้ถูกสร้างขึ้นเพื่อปฏิรูปประเทศ โดยมุ่งเน้นการขับเคลื่อนประเทศด้วยนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อความพร้อมของสถาบันการศึกษาไทย ว่าปัจจัยใดมีผลต่อความพร้อมของสถาบันการศึกษาไทย โดยการนำเอากรอบแนวคิด 7-S McKinsey มาใช้ออกแบบสอบเพื่อเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ที่ศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาไทยในระดับอุดมศึกษาขึ้นไปจำนวน 432 คน มาวิเคราะห์ถึงระดับความพร้อมและระดับความสำคัญของแต่ละปัจจัยในการรับรู้ของกลุ่มตัวอย่างและนำมาคำนวณหาช่องว่างเพื่อให้ทราบถึงสถานการณ์ในปัจจุบันของแต่ละปัจจัย เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์สำหรับพัฒนาการศึกษาของประเทศได้ในอนาคต และทำการจัด Portfolio สถาบันการศึกษาประเภทต่าง ๆ ในด้านการสนับสนุน 5 เทคโนโลยีเป้าหมายใน “ประเทศไทย 4.0” โดยเลือกสถาบันการศึกษาแต่ละประเภทที่ติดอับดับในเว็บไซต์จัดอันดับสถาบันการศึกษานานาชาติ ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยที่มีสถานการณ์ในปัจจุบันที่ต้องเร่งดำเนินการจัดการคือ ปัจจัยด้านระบบ และปัจจัยด้านบุคลากร | - |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | - |
dc.subject | การจัดการและกลยุทธ์ | - |
dc.subject | ประเทศไทย 4.0 | - |
dc.subject | การปฏิรูปการศึกษา | - |
dc.subject | สถาบันการศึกษา | - |
dc.title | การรับรู้ของนักศึกษาต่อความพร้อมของสถาบันการศึกษาไทยในการเข้าสู่ "ประเทศไทย 4.0" =Perception of collegian to the readiness of Thailand toward “Thailand 4.0” | - |
dc.type | Thematic Paper | - |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP MS.019 2560.pdf | 3.46 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.