Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/2426
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorพันธ์ณภัทร์ เศวตภาณุวงศ์-
dc.contributor.authorดรุณรัช กุศลชลลดา-
dc.date.accessioned2021-03-23T09:50:12Z-
dc.date.available2021-03-23T09:50:12Z-
dc.date.issued2018-05-21-
dc.identifierTP MS.074 2560-
dc.identifier.citation2560-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/2426-
dc.description.abstractวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้บริการสายการบิน ของชาวต่างชาติ กรณีศึกษา สายการบินพาณิชย์ในประเทศไทย เพื่อนาไปพัฒนาคุณภาพการบริการให้เหมาะสมกับความต้องการของผู้โดยสารชาวต่างชาติ โดยนาแนวคิดทฤษฏีว่าด้วยฐานทรัพยากร หรือ RBV (Resource-based View), ทฤษฏีว่าด้วยช่องว่างของคุณภาพในการบริการ หรือ (Gaps Model of Service Quality) และ ทฤษฎีว่าด้วยความร่วมมือทางธุรกิจ หรือ (Network Theory and Strategic Alliances) มาเป็นกรอบแนวความคิดในการศึกษาเพื่ออธิบายความต้องการและปัจจัยที่ส่งผล ในการวิจัยเรื่องนี้ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการสายการบิน จะเป็นปัจจัยทางด้านการตลาดและปัจจัยที่เกี่ยวกับความสามารถในการบริการ ตัววัดความสาเร็จของ ตัวแปรตาม คือ การเลือกใช้บริการสายการบิน ของชาวต่างชาติ โดยวัดจากการออกแบบสอมถามกับผู้โดยสารชาวไทย ชาวต่างชาติ ที่เคยใช้บริการสายการบินพาณิชย์ของไทย จานวน 266 คน พบว่า 62.4% ของประชากรตัวอย่างมีความถี่ในการเดินทาง 2-4 ครั้งต่อปี จึงเป็นการชี้ให้เห็นถึงแนวทางในการศึกษาและพัฒนาคุณภาพการบริการ เพื่อกระตุ้นให้เกิดความพึงพอใจและเลือกซื้อการบริการจากสายการบินพาณิชย์ของไทยต่อไป-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectพฤติกรรมการตัดสินใจ-
dc.subjectการจัดการและกลยุทธ์-
dc.subjectสายการบิน-
dc.subjectชาวต่างชาติ-
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกใช้บริการสายการบิน ของชาวต่างชาติ กรณีศึกษาสายการบินพาณิชย์ในประเทศไทย = Factor of Infuencing the choice in airline service for foreigners: Case study of airline commercial in Thailand-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP MS.074 2560.pdf1.21 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.