Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/2482
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | พรเกษม กันตามระ | - |
dc.contributor.author | กษมรัตน์ ลือนีย์ | - |
dc.date.accessioned | 2021-03-23T09:51:29Z | - |
dc.date.available | 2021-03-23T09:51:29Z | - |
dc.date.issued | 2017-05-16 | - |
dc.identifier | TP BM.068 2559 | - |
dc.identifier.citation | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/2482 | - |
dc.description.abstract | ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง มีอายุช่วง 21 – 30 ปี มีสถานภาพโสด มีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ยอยู่ระหว่าง 50,000 บาท ขึ้นไป มีลักษณะการอยู่อาศัยกับครอบครัว/ญาติ ส่วนใหญ่มีการซื้อจาก 7-eleven มีความถี่ในการซื้อน้อยกว่า 1 ครั้ง ต่อสัปดาห์ มีการซื้อในมื้ออาหารเย็น มีค่าใช้จ่ายอยู่ที่ไม่เกิน 100 บาท คิดเห็นว่าการส่งเสริมการขายที่ช่วยเพิ่มความตั้งใจในการซื้อคือ การลดราคาผลิตภัณฑ์ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยความเสี่ยงที่รับรู้ได้ของผู้บริโภคในความเสี่ยงด้านหน้าที่ ความเสี่ยงด้านร่างกาย ความเสี่ยงด้านการเงิน ความเสี่ยงด้านสังคม ความเสี่ยงด้านเวลา ไม่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการเลือกซื้ออาหารแช่แข็งพร้อมรับประทานของพนักงานออฟฟิศในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แต่ปัจจัยความเสี่ยงที่รับรู้ได้ของผู้บริโภคในความเสี่ยงด้านจิตใจมีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการเลือกซื้ออาหารแช่แข็งพร้อมรับประทานของพนักงานออฟฟิศในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และตามกรอบแนวความคิดทฤษฏีพฤติกรรมตามแผน (TPB) พบว่า ปัจจัยด้านทัศนคติ ปัจจัยด้านด้านอิทธิพลของกลุ่มอ้างอิงและปัจจัยด้านการรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการเลือกซื้ออาหารแช่แข็งพร้อมรับประทานของพนักงานออฟฟิศในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทั้ง 3 ปัจจัย ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยชิ้นนี้ ผู้ประกอบการและผู้ที่สนใจในธุรกิจอาหารแช่แข็งพร้อมรับประทานสามารถนำข้อมูล ไปวิเคราะห์ ปรับปรุงพัฒนา และสร้างกลยุทธ์ทางการตลาด หรือดำเนินกิจกรรมทางการตลาดเพิ่มเติมได้ สามารถลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้นทางด้านจิตใจของผู้บริโภคและเพิ่มโอกาสที่ทำให้ผู้บริโภครู้สึกถึงความเหมาะสมในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ เช่น การเพิ่มกิจกรรมทางการตลาด พัฒนาปรับปรุงรูปลักษณ์ของบรรจุภัณฑ์ การให้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์เพิ่มเติมแก่ผู้บริโภค รวมถึงการนำผลการวิจัยเรื่องแนวคิดทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน (Theory of Planned Behavior : TPB) มาประยุกต์ใช้ใน การเพิ่มอิทธิพลให้ผู้บริโภคเกิดความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์อาหารแช่แข็งพร้อมรับประทานในกลุ่มพนักงานออฟฟิศในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลให้มีความตั้งใจซื้ออาหารแช่แข็งพร้อมรับประทานเพิ่มมากขึ้นให้สอดคล้องกับพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปในปัจจุบันและเหมาะสมกับการเติบโตของตลาดในอนาคต | - |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | - |
dc.subject | การจัดการธุรกิจ | - |
dc.subject | อาหารแช่แข็ง | - |
dc.subject | พนักงานออฟฟิศ | - |
dc.subject | กรุงเทพมหานครและปริมณฑล | - |
dc.subject | พฤติกรรมการเลือกซื้อ | - |
dc.title | การศึกษาความตั้งใจในการเลือกซื้ออาหารแช่แข็งพร้อมรับประทานของพนักงานออฟฟิศในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล =The study of intention to buy ready-meal frozen food of office workers in Bangkok and its vicinity. | - |
dc.type | Thematic Paper | - |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP BM.068 2559.pdf | 2.52 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.