Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/2494
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | ธนพล วีราสา | - |
dc.contributor.author | ธิตินันท์ นิตยารัมภ์พงศ์ | - |
dc.date.accessioned | 2021-03-23T10:06:29Z | - |
dc.date.available | 2021-03-23T10:06:29Z | - |
dc.date.issued | 2018-06-20 | - |
dc.identifier | TP EM.042 2560 | - |
dc.identifier.citation | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/2494 | - |
dc.description.abstract | ในปัจจุบัน โรงงานอุตสาหกรรมในประเทศไทยได้รับผลกระทบจากอัตราค่าจ้างแรงงานที่เพิ่มสูงขึ้น ประกอบกับการขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะบุคลากรที่มีทักษะและความสามารถ เนื่องจากลักษณะการทำงานในโรงงาน เช่นโรงงานอาหาร ไม่สามารถหยุดการผลิตได้ ต้องดำเนินการตลอด 24 ชั่วโมงต่อวัน 6 วันต่อสัปดาห์ ทำให้คนรุ่นใหม่และคนวัยทำงานไม่ต้องการทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม จากปัญหาเรื่องคุณภาพของแรงานยังทำให้เกิดความผิดพลาด และความเสียหายต่อผลิตภัณฑ์ เช่น กระป๋องบุบเสียหาย เป็นต้น จากปัญหาด้านแรงงานและประสิทธิภาพในการผลิต ภาคอุตสาหกรรมไทยโดยเฉพาะในอุตสาหกรรมที่ต้องอาศัยแรงงานจำนวนมาก ได้เริ่มมีแนวคิดที่จะนำแขนกลอัจฉริยะซึ่งเป็นหุ่นยนต์ชนิดหนึ่งที่นามาใช้งาน เพื่อทดแทนการใช้แรงงานในงานที่ต้องทำอย่างต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง ในลักษณะงานที่ต้องทำซ้ำ ๆ งานเสี่ยงอันตราย หรืองานยกของหนักและยากเกินที่แรงงานจะทำไหว ซึ่งข้อดีของการใช้หุ่นยนต์ทำงานแทนคน จะทำให้การทำงานได้ต่อเนื่องอย่างแม่นยำ และมีประสิทธิภาพสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น | - |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | - |
dc.subject | ภาวะผู้ประกอบการและนวัตกรรม | - |
dc.subject | ความเป็นไปได้ | - |
dc.subject | Mr.Robot | - |
dc.title | การศึกษาความเป็นไปได้ของแนวคิดธุรกิจแขนกลอัจฉริยะเพื่องานอุตสาหกรรม Mr.Robot | - |
dc.type | Thematic Paper | - |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP EM.042 2560.pdf | 1.5 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.