Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3050
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorภูมิพร ธรรมสถิตย์เดช-
dc.contributor.authorสุวดิษย์ จันทะคาม-
dc.date.accessioned2021-03-23T10:26:22Z-
dc.date.available2021-03-23T10:26:22Z-
dc.date.issued2019-08-10-
dc.identifierTP MS.061 2561-
dc.identifier.citation2561-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3050-
dc.description.abstractศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบรรยากาศและ Behavioral norms ของบริษัทเล็กที่ Spin off ออกจากบริษัทใหญ่ ภายใต้การขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ในบริบทของความอิสระและขอบข่ายหน้าที่ในการดำเนินงาน ของผู้ประกอบการฐานนวัตกรรม รวมถึงบันทึกสถานการณ์และปัญหา ผ่านการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) เกี่ยวกับลักษณะและวัฒนธรรมขององค์กรในการขับเคลื่อนนวัตกรรม การบริหารจัดการ แล้วจึงนำข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์ โดยการใช้ทฤษฎีว่าด้วยสถาบัน (Institutional Theory) ในการทำความเข้าใจสถานการณ์ของบริษัท Spin off ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยในปัจจุบัน ทางผู้วิจัยได้แบ่งแหล่งข้อมูลออกเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มของหน่วยงานที่มีบทบาทในการสนับสนุนผู้ประกอบการฐานนวัตกรรมซึ่งเป็นผู้บริหารหรือหน่วยงานจากภาครัฐ ที่มีส่วนร่วมในการตัดสินใจแตกบริษัท และ กลุ่มของผู้ประกอบการฐานนวัตกรรม ที่แตกหน่วยธุรกิจออกมาจากบริษัทแม่ โดยผลการวิจัยพบว่า พบว่า บรรยากาศเกี่ยวกับการแยกบริษัท Spin off ในประเทศไทยในปัจจุบันนั้น ยังมีความเข้าใจและเหตุผลหลัก คือ "การเพิ่มมูลค่าของผู้ถือหุ้น" รวมไปถึง “ความคล่องตัว” ในการบริหารจัดการ ในขณะที่ความสำคัญของ “นวัตกรรม” กลับถูกลดทอนลงไป เนื่องด้วยการมุ่งเน้นกลยุทธ์จากบริษัทแม่มากกว่าการพัฒนาบุคลากรด้านนวัตกรรม รวมถึงการขาดแรงสนับสนุนด้านทรัพยากร ความรู้และแหล่งเงินทุน ซึ่งผลการวิจัยนี้ นำไปสู่การเข้ามาของ ทฤษฎีว่าด้วยสถาบัน ซึ่งสามารถนำมาวิเคราะห์และอธิบายได้ว่า แรงขับเคลื่อนที่สำคัญ คือแรงขับเคลื่อนจากการสนับสนุนและส่งเสริมของภาครัฐที่จะทำให้องค์กรนวัตกรรม มองเห็นถึงความสำคัญของการแยกหน่วยธุรกิจมากขึ้น-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectการจัดการและกลยุทธ์-
dc.subjectSpin off-
dc.subjectนวัตกรรม-
dc.titleบทวิเคราะห์การแยกบริษัท Spin off ที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ผ่านกรอบการศึกษา Institutional theory =ANALYSIS OF SPIN OFF COMPANIES THAT ARE DRIVEN BY INNOVATION THROUGH INSTITUTIONAL THEORY EDUCATION FRAMEWORK .-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP MS.061 2561.pdf1.19 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.