Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3073
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | ปรารถนา ปุณณกิติเกษม | - |
dc.contributor.author | วัลลภา จันทรศิลปิน | - |
dc.date.accessioned | 2021-03-23T10:26:36Z | - |
dc.date.available | 2021-03-23T10:26:36Z | - |
dc.date.issued | 2019-08-10 | - |
dc.identifier | TP MS.018 2562 | - |
dc.identifier.citation | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3073 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเพื่อวิเคราะห์โอกาสและอุปสรรคในการผลิตและจัดจำหน่ายเชิงพาณิชย์ของยาชีววัตถุคล้ายคลึง Erythropoietin (EPO) ในอุตสาหกรรมยาชีววัตถุของประเทศไทย โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ และเก็บข้อมูลผ่านการสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มบุคคลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและจัดจำหน่ายเชิงพาณิชย์ของยาชีววัตถุคล้ายคลึง Erythropoietin จำนวน 28 คน ร่วมกับการหาข้อมูลทุติยภูมิจากการวิเคราะห์เอกสารทางวิชาการ ผลงานวิจัย และงานทบทวนวรรณกรรมจากในประเทศและต่างประเทศ เพื่อศึกษาทิศทางของงานวิจัยและการพัฒนาของธุรกิจในอุตสาหกรรมการผลิตยาชีววัตถุคล้ายคลึง Erythropoietin แล้วนำมาประเมินศักยภาพของตลาดในอุตสาหกรรมการผลิตยาชีววัตถุ ร่วมกับการวิเคราะห์ทัศนคติของ นักวิจัย บริษัทยา แพทย์ เภสัชกร และผู้ป่วย ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่เป็นโอกาสมี 3 ปัจจัย ได้แก่ 1.นโยบาย Medical Hub of Asia เป็นนโยบายการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ 2.นโยบายส่งเสริมการลงทุน BOI ลดภาระต้นทุนของผู้ผลิตยาโดยจะได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นระยะเวลาสูงสุด 8 ปี 3.แนวโน้มและการเติบโตของมูลค่าตลาดยาชีววัตถุคล้ายคลึงของ Erythropoietin ในระดับโลกและในประเทศไทยมีแนวโน้มที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น ส่วนปัจจัยที่เป็นอุปสรรคมี 4 ปัจจัย ได้แก่ 1.ด้านการผลิตยังขาดแคลนแหล่งเงินทุนในการสนับสนุนเพื่อนำมาลงทุนในการต่อยอดวิจัยและการผลิตยา 2.บุคลากรทางการแพทย์และผู้ป่วยยังไม่มั่นใจในคุณภาพของยาที่ผลิตในประเทศไทยมากนัก 3.ผู้ป่วยขาดความรู้ความเข้าใจยาชีววัตถุคล้ายคลึง 4.การจำกัดสิทธิการรักษาของผู้ป่วยด้วยยาชีววัตถุคล้ายคลึง Erythropoietin ของบัตรทองและประกันสังคม โดยผู้วิจัยได้จัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการผลิตและจัดจำหน่ายเชิงพาณิชย์ของยาชีววัตถุคล้ายคลึง Erythropoietin | - |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | - |
dc.subject | การจัดการและกลยุทธ์ | - |
dc.subject | โลหิตจาง | - |
dc.subject | ยาชีววัตถุ | - |
dc.title | การศึกษาเพื่อวิเคราะห์โอกาสและอุปสรรคในการผลิตและจัดจำหน่ายเชิงพาณิชย์ของยาชีววัตถุคล้ายคลึง Erythropoietin (EPO) ในอุตสาหกรรมยาชีววัตถุของประเทศไทย =OPPORTUNITIES AND THREATS ANALYSIS IN MANUFACTURING AND COMMERCIALIZATION OF ERYTHROPOIETIN (EPO) BIOSIMILARS IN THAILAND BIOPHARMACEUTICAL INDUSTRY. | - |
dc.type | Thematic Paper | - |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP MS.018 2562.pdf | 7.13 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.