Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3235
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | กัญญาภัสส์ ปันจัยสีห์ | - |
dc.contributor.author | รัชกร อัครพิน | - |
dc.date.accessioned | 2021-03-23T10:28:43Z | - |
dc.date.available | 2021-03-23T10:28:43Z | - |
dc.date.issued | 2020-01-20 | - |
dc.identifier | TP MM.023 2562 | - |
dc.identifier.citation | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3235 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีเป้าหมายสูงสุดที่จะหาวิธีส่งเสริมให้ผู้บริโภคตัดสินใจบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพมากขึ้น โดยศึกษาระหว่างอิทธิพลของทัศนคติที่มีต่อรสชาติและทัศนคติต่อการมีสุขภาพดี ซึ่งจะพิจารณาในบทบาทของการรับรู้ถึงคุณค่าที่มีต่อสุขภาพและการรับรู้ถึงความคุ้มค่า เพื่อให้เข้าใจถึงความตั้งใจในการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพของผู้บริโภคว่าได้รับอิทธิพลมาจากปัจจัยดังกล่าวมากน้อยอย่างไร ในงานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 266 ตัวอย่าง จากผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 69 และมีอายุ 25-34 ปีร้อยละ 44 พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิต่อการตัดสินใจการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพมากที่สุดคือการรับรู้ถึงความคุ้มค่า ซึ่งเป็นผลเนื่องมาจากการรับรู้ถึงคุณค่าที่มีต่อสุขภาพด้วย ดังนั้นจึงควรมุ่งเน้นที่จะสร้างการรับรู้ถึงความคุ้มค่าในการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพมากที่สุด การที่ผู้บริโภคมีทัศนคติที่ดีต่อการมีสุขภาพดีก็มีผลต่อการรับรู้ถึงคุณค่าที่มีต่อสุขภาพ และความคุ้มค่าด้วยเช่นกัน ดังนั้นผู้ประกอบการอาจใช้วิธีการสื่อสารหรือจัดกิจกรรมทางการตลาดเพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติของผู้บริโภค เพื่อเพิ่มโอกาสในการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพมากขึ้น รวมไปถึงการปรับปรุงพัฒนารสชาติอาหารเพื่อสุขภาพให้ตอบโจทย์ความคาดหวังในรสชาติของผู้บริโภคก็เป็นประเด็นที่ผู้ประกอบการไม่ควรละเลยเช่นกัน ในประเด็นสำคัญเรื่องการรับรู้ถึงความคุ้มค่าต่อการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพอาจมีปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอีกมาก เช่น ความพอใจในราคา คุณภาพของอาหาร ความพึงพอใจในบริการ เป็นต้น | - |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | - |
dc.subject | อาหารเพื่อสุขภาพ | - |
dc.subject | ทัศนคติต่อการมีสุขภาพดี | - |
dc.subject | ทัศนคติต่อรสชาติ | - |
dc.subject | ความตั้งใจในการบริโภค | - |
dc.title | อิทธิพลของทัศนคติต่อการมีสุขภาพดีและทัศนคติต่อรสชาติที่มีผลต่อการเลือกบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ : พิจารณาในบทบาทของการรับรู้เชิงคุณค่าต่อสุขภาพและการรับรู้ถึงความคุ้มค่า =THE EFFECTS OF ATTITUDES TOWARDS HEALTHFULNESS AND ATTITUDES TOWARDS TASTE ON HEALTHY FOOD SELECTION: CONSIDERING THE ROLE OF PERCEIVED FOOD HEALTHINESS AND PERCEIVED VALUE. | - |
dc.type | Thematic Paper | - |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP MM.023 2562.pdf | 563.61 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.