Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3379
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | สุเทพ นิ่มสาย | - |
dc.contributor.author | รัตนาภรณ์ มาสแสง | - |
dc.date.accessioned | 2021-03-23T10:47:07Z | - |
dc.date.available | 2021-03-23T10:47:07Z | - |
dc.date.issued | 2020-03-09 | - |
dc.identifier | TP MS.056 2562 | - |
dc.identifier.citation | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3379 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่อง “กลยุทธ์ทางการตลาดของผลิตภัณฑ์เด็กประเภทผ้าอ้อมสำเร็จรูปในเขตกรุงเทพมหานคร” เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เด็กประเภทผ้าอ้อมสำเร็จรูปและปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เด็กประเภทผ้าอ้อมสำเร็จรูป โดยวิธีการเก็บข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถามออนไลน์ (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล รวมกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 120 คน แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor analysis) จากผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1) กลุ่มตัวอย่างมีการเลือกซื้อผ้าอ้อมสำเร็จรูปยี่ห้อ Mamypoko, Baby Love, Merries เป็นสามอันดับแรก โดยมีการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ผ้าอ้อมสำเร็จรูปเด็กยี่ห้อหรือแบรนด์เดิม ทั้งนี้มีการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์เด็กประเภทผ้าอ้อมสำเร็จรูปในรูปแบบกางเกงผ้าอ้อมเป็นส่วนใหญ่ โดยพฤติกรรมการเลือกซื้อโดยประมาณมีการเลือกซื้อ 1 ครั้งต่อเดือน โดยส่วนใหญ่มีการเลือกซื้อขนาดใหญ่ (แพคละ 36 – 66 ชิ้น) หรือซื้อแบบยกลัง (มากกว่า 66 ชิ้นขึ้นไป) โดยมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยอยู่ที่ 500 – 1,500 บาท โดยมีการเลือกซื้อเฉลี่ยอัตราที่ใกล้เคียงกันระหว่างการเลือกซื้อแบบออฟไลน์ (หน้าร้าน) และแบบออนไลน์โดยมีเหตุผลที่คล้ายกันคือในส่วนของ ส่วนลด โปรโมชั่นที่ดึงดูดใจ คูปอง มีของแถม ในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แต่ละครั้ง 2) โดยมีทัศนคติเกี่ยวกับส่วนประสมทางการตลาด 4P’s ที่มีผลต่อความพึงพอใจและการตัดสินใจเลือกซื้อมากที่สุดคือ ปัจจัยในด้านช่องทางการจัดจำหน่าย โดยรองลงมาคือปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ และปัจจัยด้านราคา โดยจากการศึกษาสามารถนำข้อมูลมาวิเคราะห์แนวทางกลยุทธ์ได้ โดยในระยะสั้นจะเป็นการเน้นการพัฒนากลยุทธ์ในระดับปฏิบัติการ (Function Strategy) โดยเน้นการทำงานในส่วนของ Marketing and Sale ซึ่งให้ความสำคัญในส่วนของราคา โปรโมชั่น ขยายช่องทางการรับรู้ในส่วนของดิจิตอลและเพิ่มในส่วนของ Partner ทางการตลาด และในระยะยาวจะเป็นการเน้นการพัฒนากลยุทธ์ในระดับธุรกิจ (Business Strategy) ซึ่งเน้นการสร้างความแตกต่างของตัวผลิตภัณฑ์ (Differentiation) โดยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ (R&D) เพื่อตอบสอนองความต้องการที่มากขึ้นของผู้บริโภค | - |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | - |
dc.subject | กรุงเทพมหานคร | - |
dc.subject | การจัดการและกลยุทธ์ | - |
dc.subject | กลยุทธ์ทางการตลาด | - |
dc.subject | ผลิตภัณฑ์เด็ก | - |
dc.subject | ผ้าอ้อมสำเร็จรูป | - |
dc.title | กลยุทธ์ทางการตลาดของผลิตภัณฑ์เด็กประเภทผ้าอ้อมสำเร็จรูปในเขตกรุงเทพมหานคร =MARKETING STRATEGIES FOR DISPOSABLE DIAPERS IN BANGKOK. | - |
dc.type | Thematic Paper | - |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP MS.056 2562.pdf | 733.41 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.