Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3380
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorพัลลภา ปีติสันต์-
dc.contributor.authorจิรายุส มิตรสันติสุข-
dc.date.accessioned2021-03-23T10:47:08Z-
dc.date.available2021-03-23T10:47:08Z-
dc.date.issued2020-03-09-
dc.identifierTP BM.091 2562-
dc.identifier.citation2562-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3380-
dc.description.abstractเนื่องจากปัจจุบันปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในประเทศไทยมีแนมโน้มสูงขึ้นและมีปริมาณขยะที่ถูกกำจัดไม่ถูกต้องในสัดส่วนที่สูงเมื่อเปรียบเทียบกับการกำจัดขยะทั้งหมด โดยภาครัฐภาครัฐให้ความสำคัญการกำจัดขยะมูลฝอยอยู่แล้ว จึงกำหนดนโยบายให้ขยะเป็นวาระแห่งชาติเมื่อปี 2557ในทางกลับกันภาคเอกชนก็ยังตระหนักถึงปัญหานี้กันค่อนข้างน้อย ทำให้ยังไม่สามารถมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility) โดยผู้วิจัยได้เล็งเห็นโอกาสผ่านปัญหาดังกล่าว ธุรกิจ CSR campaign ผ่านเครื่องแยกขยะ The Cycle จะเข้ามาแก้ปัญหาขยะ ด้วยการปลูกสร้างจิตสำนึกในการแยกขยะให้กับผู้ทิ้งขยะ และลดปัญหาขยะในระยะยาว สำหรับกลุ่มเป้าหมาย คือ องค์กรที่ต้องจัดกิจกรรม CSR และดำเนินธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับขยะรีไซเคิล ยกตัวอย่าง PTTGC ที่ดำเนินธุรกิจเคมีภัณฑ์ มีวิธีการเลือกกิจกรรมช่วยเหลือสังคมผ่าน VISION ของบริษัท เป็นผู้นำในธุรกิจเคมีภัณฑ์ เพื่อสร้างสรรค์คุณภาพชีวิตตัวอย่างเช่น Waste Runner เป็นต้น การจัดการขยะ หากทำให้วนกลับมาใน Chain ได้ PTTGC ก็ได้ประโยชน์เพิ่มเติมขึ้นอีก นอกเหนือจากภาพลักษณ์องค์กร การกำหนดกลยุทธ์ด้านราคา บริษัทจะคำนึงถึงปัจจัยด้านต้นทุนการผลิต Cost plus pricing โดยราคาที่กำหนดขึ้นนั้นจะเป็นราคาที่ผู้บริโภคเต็มใจจ่าย โดยทางบริษัทจะเสนอสิทธิประโยชน์ทางการตลาดโครงการเป็น Package ต่างๆ ให้แก่ลูกค้าประกอบในตอนเสนอราคา ดังนี้ 1.Platinum 2.Gold 3.Silver ซึ่งสิทธิประโยชน์ทางการตลาดจะสอดคล้องตาม Package ต่างๆโดย Platinum จะได้รับสิทธิประโยชน์มากที่สุด และกลุ่มเป้าหมายรองคือผู้ให้โปรโมชั่นส่วนลดสินค้าต่างๆกับผู้ที่มาทิ้งขยะกับเครื่องแยกขยะ The Cycle เพื่อดึงดูดคนเข้าร่วม Campaign และเกิดเป็นผลกระทบแบบยั่งยืนกับสิ่งแวดล้อม สำหรับธุรกิจใหม่นี้ใช้เงินลงทุนโดยการเพิ่มหุ้นทั้งสิ้น 4 ล้านบาท เพิ่มโดยผู้ถือหุ้นเดิม ไม่มีการกู้ยืมจากธนาคาร จากการประมาณการผลตอบแทนจากการลงทุนในระยะเวลา 5 ปี จะได้ผลตอบแทน 71.1% คืนทุนในระยะเวลา 1.06 ปี มีมูลค่าโครงการสุทธิอยู่ที่ 4.187 ล้านบาท-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectการจัดการธุรกิจ-
dc.subjectแผนธุรกิจ-
dc.subjectCSR-
dc.subjectเครื่องแยกขยะ-
dc.titleแผนธุรกิจ CSR campaign ผ่านเครื่องแยกขยะ The Cycle-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP BM.091 2562.pdf983.76 kBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.