Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3503
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorพัลลภา ปีติสันต์-
dc.contributor.authorทักษิณา เจริญกุล-
dc.date.accessioned2021-03-23T10:48:17Z-
dc.date.available2021-03-23T10:48:17Z-
dc.date.issued2020-09-21-
dc.identifierTP MM.087 2562-
dc.identifier.citation2563-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3503-
dc.description.abstractในปัจจุบันที่พฤติกรรมผู้บริโภคมักหลีกเลี่ยงการรับชมโฆษณา ทำให้ผู้ผลิตหรือเจ้าของแบรนด์หันมาเลือกใช้เทคนิค และความสร้างสรรค์ในการสื่อสารในรูปแบบของโฆษณาแฝง (Stealth Marketing) โดยตั้งใจให้แนบเนียน และพยายามให้ผู้ชมไม่รู้สึกหรือไม่ทันระวังว่ากำลังชมโฆษณาอยู่ เพื่อให้เกิดการมองเห็นแบรนด์ได้บ่อยขึ้น กระตุ้นความสนใจ และสร้างการจดจำให้กับแบรนด์ รวมทั้งยังสามารถช่วยลดเงินลงทุนในการผลิตโฆษณาหลัก แต่สามารถเข้าถึงผู้บริโภคได้มาก รวมทั้งยังเป็นการเพิ่มยอดขายได้อย่างดี หากถูกนำมาใช้ในละครประเภทซิทคอม งานวิจัยนี้ จึงทำขึ้นเพื่อศึกษาผลของการรับรู้การโฆษณาแฝงในละครซิทคอม ในแง่ของการจดจำแบรนด์ และระลึกถึงแบรนด์ ในผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มน้ำแร่ Minere รวมถึงศึกษาประสิทธิภาพของการทำโฆษณาแฝงแต่ละรูปแบบ จากการสุ่มตัวอย่างกลุ่มคน Gen Z ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 30 คน โดยเปิดให้ดูคลิปละครซิทคอมซึ่งมีโฆษณาแฝง ซึ่งขณะที่ดูนั้นได้มีการตรวจจับการเคลื่อนไหวของสายตาผ่านโปรแกรม Eye-Tracking พร้อมกันไปด้วย จากนั้นทำการสัมภาษณ์เชิงลึกในวันถัดไป จากผลการวิจัย พบว่าคน Gen Z สามารถจดจำแบรนด์ได้แต่จะไม่สามารถระลึกถึงแบรนด์ได้ และรูปแบบโฆษณาแฝงที่มีประสิทธิภาพสูงสุดคือ การแฝงกับบุคคล-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectการตลาด-
dc.subjectการรับรู้-
dc.subjectโฆษณาแฝง-
dc.subjectการจดจำแบรนด์-
dc.subjectละครซิทคอม-
dc.titleการรับรู้และจดจำโฆษณาแฝงของผู้บริโภค Gen Z ที่มีต่อแบรนด์น้ำดื่ม Minere ในละครซิทคอม =BRAND AWARENESS AND BRAND RECOGNITION OF GENERATION Z TOWARD MINERE DRINKING WATER IN SIT-COM.-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP MM.087 2562.pdf2.53 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.