Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3728
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorบุญยิ่ง คงอาชาภัทร-
dc.contributor.authorนภัสนันท์ ทองตรา-
dc.date.accessioned2021-03-23T10:52:09Z-
dc.date.available2021-03-23T10:52:09Z-
dc.date.issued2020-01-21-
dc.identifierTP MM.053 2562-
dc.identifier.citation2562-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3728-
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง “อุปสรรคที่ทำให้สินค้าไพรเวทแบรนด์ไม่เป็นที่นิยมในประเทศไทย” มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อหาปัจจัยที่เป็นอุปสรรคในการพัฒนาให้สินค้าไพรเวทแบรนด์เป็นที่ยอมรับในตลาดค้าปลีกในประเทศไทย และปัจจัยที่แตกต่างกันของแต่ละช่วงวัย ดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยใช้เครื่องมือการวิจัยแบบสัมภาษณ์ส่วนบุคคลเชิงลึก (In-depth Interview) จำนวน 40 คน โดยสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล (Individual Interview) และนำข้อมูลมา วิเคราะห์เชิงเนื้อหาด้วยวิธีการ Content Analysis จากการสรุปผลการศึกษานั้น สามารถแบ่งปัจจัยที่เป็นอุปสรรคที่ทำให้สินค้าไพรเวทแบรนด์ไม่เป็นที่นิยมในประเทศไทย ได้แก่ ปัจจัยด้านประสบการณ์ที่ไม่ดีในอดีต ปัจจัยด้านผลจากตราสินค้าไพรเวทแบรนด์ประเภทหนึ่งสู่อีกตราสินค้าไพรเวทแบรนด์อีกประเภทหนึ่ง ปัจจัยด้านศีลธรรมที่เกิดจากร้านค้าปลีกสมัยใหม่และมีผลต่อสังคม ปัจจัยด้านคุณภาพ ปัจจัยด้านความเสี่ยง ปัจจัยด้านเอกลักษณ์ของตัวสินค้า ปัจจัยด้านอคติต่อร้านค้าปลีก และ ปัจจัยด้านภาพลักษณ์ของผู้ใช้ ซึ่งเมื่อศึกษาโดยเปรียบความแตกต่างของปัจจัยต่าง ๆ ตามช่วงอายุจะพบว่า มีความเหมือนและความแตกต่างของแต่ละปัจจัยในแต่ละช่วงอายุ และพบว่าประชากรในประเทศไทยส่วนใหญ่นั้นยินดีที่จะใช้สินค้าไพรเวทแบรนด์หากผู้ค้าปลีกมีการพัฒนาสินค้าและปิดช่องว่างที่เป็นอุปสรรคให้ปฏิเสธสินค้าไพรเวทแบรนด์ได้-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectไพรเวทแบรนด์-
dc.subjectความตั้งใจซื้อสินค้าไพรเวทแบรนด์-
dc.subjectสินค้าตราห้าง-
dc.titleปัจจัยที่เป็นอุปสรรคให้สินค้าไพรเวทแบรนด์ไม่เป็นที่นิยมในประเทศไทย =THE OBSTACLE OF PRIVATE BRAND TO BE POPULAR IN THAILAND.-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP MM.053 2562.pdf2.08 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.