Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3753
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | ณัฐวุฒิ พิมพา | - |
dc.contributor.author | นัทธ์กฤตตา ชูเดช | - |
dc.date.accessioned | 2021-03-23T10:52:43Z | - |
dc.date.available | 2021-03-23T10:52:43Z | - |
dc.date.issued | 2020-02-20 | - |
dc.identifier | TP EM.004 2563 | - |
dc.identifier.citation | 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3753 | - |
dc.description.abstract | การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างประชากรของประเทศไทยที่ประชากรสูงอายุมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นมีผลกระทบต่อตลาดแรงงานเป็นอย่างมาก องค์กรต่างๆ จึงต้องหาวิธีการรับมือกับภาวะการขาดแคลนแรงงานที่กำลังจะเกิดขึ้นและสร้างผลกระทบอย่างมากในอนาคต ดังนั้นการพิจารณาจ้างงานและการจัดการแรงงานสูงอายุจึงถือเป็นประเด็นที่ท้าทายขององค์กรต่างๆ โดยองค์กรสามารถนำทักษะ ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ของแรงงานสูงอายุใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้ แต่ประเด็นปัญหาประการหนึ่งที่เกิดขึ้นคืออัตราค่าตอบแทนการจ้างงานของแรงงานสูงอายุ ที่สวนทางกับกำลังจ่ายขององค์กร การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ได้มุ่งเน้นการศึกษาทักษะที่จำเป็นต่อการจ้างงานในกลุ่มแรงงานสูงอายุ เพื่อให้เกิดการจ้างงานและได้รับค่าตอบแทนอย่างเป็นธรรม โดยผู้วิจัยได้เลือกกลุ่มตัวอย่างของการวิจัยครั้งนี้ โดยใช้วิธีแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น (Non-Probability Sample) ด้วยวิธีเจาะจง (Purposive Sampling) โดยแบ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มตัวอย่างแรกคือ เจ้าหน้าที่หน่วยงานทรัพยากรมนุษย์ ฝ่ายพัฒนาบุคลากร โดยมีขนาดกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 10 ถึง 20 ตัวอย่าง โดยใช้วิธีสัมภาษณ์แบบเชิงลึก (In-Depth Interview) ด้วยแบบสัมภาษณ์แบบโครงสร้าง (Structure Interview) กลุ่มตัวอย่างที่สองคือ แรงงานสูงอายุในตลาดแรงงาน โดยมีขนาดกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 10 ถึง 20 ตัวอย่าง โดยใช้วิธีสัมภาษณ์แบบเชิงลึก (In-Depth Interview) ด้วยแบบสัมภาษณ์แบบโครงสร้าง (Structure Interview) เป็นเครื่องมือในการวิจัยนี้ โดยผู้วิจัยได้ใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Directed Content Analysis) การจัดข้อมูลให้เป็นระบบ โดยใช้วิธีบรรยาย เชื่อมโยงกับสิ่งที่ศึกษา ทำการจัดประเภทข้อมูล สังเคราะห์ ค้นหาแบบแผนและตีความข้อมูล ที่ผู้วิจัยได้รวบรวมมา รายงานการศึกษาที่ได้สามารถนำไปใช้วางแผนและออกแบบการอบรมเพื่อเพิ่มทักษะให้กับแรงงานสูงอายุ | - |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | - |
dc.subject | ภาวะผู้ประกอบการและนวัตกรรม | - |
dc.subject | ทัศนคติ | - |
dc.subject | แรงงาน | - |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | - |
dc.subject | การจ้างงาน | - |
dc.title | การศึกษาการพัฒนาทักษะในการทำงานในกลุ่มแรงงานสูงอายุที่มีประสบการณ์สูง =THE STUDY OF THE SKILLS DEVELOPMENT FOR THE PROFESSIONAL ELDERLY WORKFORCE. | - |
dc.type | Thematic Paper | - |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP EM.004 2563.pdf | 1.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.