Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3973
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | กิตติชัย ราชมหา | - |
dc.contributor.author | อนันต์, ลลิตกุลธร | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-19T06:18:07Z | - |
dc.date.available | 2021-05-19T06:18:07Z | - |
dc.date.issued | 2020-10-21 | - |
dc.identifier.other | TP BM.061 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/3973 | - |
dc.description | 96 แผ่น | en_US |
dc.description.abstract | การพัฒนาอาหารแห่งอนาคต (Food for the future) ในกลุ่มอาหารและเครื่องดื่มสุขภาพ (Functional Foods and Drink) ของประเทศไทยนั้นเป็นเรื่องที่รัฐบาลเข้ามามีบทบาทและให้ความสำคัญในเรื่องนี้อย่างมาก สำหรับการวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานภาพการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทยที่ เกี่ยวข้องกับแต่ละเทคโนโลยี รวมถึงเครือข่ายนักวิจัย (Social Network Analysis) สำหรับกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่องดื่มสุขภาพเพื่อกำหนดแผนที่นำทางการวิจยัและพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมอาหารเพื่ออนาคต (Food For The future) เพื่อรองรับยุทธศาสตร์ของประเทศไทยที่มุ่งสู่ยุค 4.0 สำหรับกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มสุขภาพ เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการผลักดันและขับเคลื่อนงานดำเนินงานตามแผนที่นำทางการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ของอุตสาหกรรมอาหารเพื่ออนาคต (Food For The Future) ที่กำหนดสำหรับกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารทางการแพทย์และ เพื่อเสนอแนวทางในการติตตามความก้าวหน้าของงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อให้มีการทบทวนและระบุสถานะของ แผนที่นำทางในแต่ละช่วงเวลาที่เหมาะสม สำหรับกลุ่มอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มสุขภาพ โดยผู้วิจัยใช้วิธีการเลือก กลุ่มตัวอย่างของการวิจัยแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น (Non-Probability Sampling) ด้วยวิธีการจำเพาะเจาะจง (Purposive Sampling) จำนวนไม่น้อยกว่า 15 หน่วยงาน โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) ด้วยวิธีการสัมภาษณ์แบบ กึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Interview) เป็นเครื่องมือในการทำวิจัย และใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โปรแกรมอาร์ (R Program) สำหรับการคำนวณและประมวลข้อมูลสถิติพื้นฐานที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา แผนที่นำทางอาหารและเครื่องดื่มสุขภาพ (Functional Foods and Drink) ภายใต้มิติด้านหน่วยงานที่มีบทบาทกำหนด นโยบาย หน่วยงานภาควิชาการและสถาบันการศึกษา และภาคธุรกิจอุตสาหกรรมต่อไปในอนาคต | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | การจัดการธุรกิจ | en_US |
dc.subject | อาหารและเครื่องดื่มสุขภาพ | en_US |
dc.subject | อุตสาหกรรมอาหาร | en_US |
dc.subject | แผนที่นำทางเทคโนโลยี | en_US |
dc.title | การศึกษาวิจัยเพื่อการจัดทำแผนที่นำทางการพัฒนาเทคโนโลยี สำหรับอาหารฟังก์ชัน ในมิติของภาคอุตสาหกรรม | en_US |
dc.title.alternative | A Study for mapping the development of technology for Functional Food in industrial dimensions. | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP BM.061 2563.pdf | 3.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.