Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4015
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | ธนพล วีราสา | - |
dc.contributor.author | สุดฉกาจ, สุดแก้ว | - |
dc.date.accessioned | 2021-05-25T04:00:41Z | - |
dc.date.available | 2021-05-25T04:00:41Z | - |
dc.date.issued | 2021-05-25 | - |
dc.identifier.other | TP EM.034 2563 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4015 | - |
dc.description | 66 แผ่น | en_US |
dc.description.abstract | ปัจจุบันประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านโครงสร้างของระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและเทคโนโลยีโดยเฉพาะการเปิดเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนได้ส่งผลต่อวิถีชีวิต ของคนไทยไม่มากก็น้อยซึ่งการเปลี่ยนแปลงในระดับภูมิภาคที่เกิดขึ้นย่อมเป็นไปตามกลไกของ ระบบเศรษฐกิจ จึงทำให้การพัฒนาระบบเศรษฐกิจในระดับชุมชนทั้งในด้านการสร้างงานสร้าง อาชีพ และสร้างโอกาสให้แก่ผู้ประกอบการรายย่อยในระดับชุมชน มีความจำเป็นต้องปรับตัวเข้ากับ สถานการณ์และสภาวะแวดล้อมใหม่ๆที่มีการแข่งขันมากยิ่งขึ้น ในขณะเดียวกันการส่งเสริมการ สร้างทักษะความเป็นผู้ประกอบการในประเทศไทยได้รับการสนับสนุนอย่างแพร่หลายทั้งในส่วน ของภาครัฐและภาคเอกชนที่มีการสนับสนุนและให้แหล่งเงินทุนในการเริ่มต้นและประกอบกิจการ ธุรกิจ ดังนั้นการส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอนในการเป็นผู้ประกอบการถือเป็นส่วนหนึ่ง ของการพัฒนาการศึกษาและนโยบายในการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมในระดับประเทศ สำหรับประเทศไทย การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกมีผลทำให้คนไทยและสังคมไทย ต้องปรับตัวให้ทันกับสภาวะการเปลี่ยนแปลงดังที่ได้กล่าวมา ซึ่งปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้คนเผชิญการเปลี่ยนแปลงคือ การพัฒนาทักษะและการสนับสนุนการเรียนการสอน เพื่อให้มีทักษะใน การประกอบอาชีพ และการสร้างคุณค่าสิงใหม่ๆให้กับ สังคม ชุมชนและระบบเศรษฐกิจ รวมทั้งเป็นการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในโลกสมัยใหม่ ดังนั้นสิ่งแรกที่ควรสนับสนุนให้เกิดขึ้นในประเทศไทยอีกด้านหนึ่ง คือ การพัฒนาคนให้มีศักยภาพในการสร้างทักษะการเป็นผู้ประกอบการ เพื่อร่วมกันพัฒนาระบบเศรษฐกิจของประเทศให้ก้าวหน้าและเทียบเท่าอารยประเทศที่ได้พัฒนาแล้ว งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการหารูปแบบการเรียนการสอนทักษะที่สำคัญในการเป็นผู้ประกอบการ ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย (กศน.) ในประเทศไทย ในบริบทการศึกษานอกระบบ (Non-formal Education) โดยใช้เครื่องมือหลักคือการสัมภาษณ์เชิงการสนทนากลุ่ม (Focus Group) โดยมีขนาดกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยอาจารย์ผู้สอนในการศึกษา นอกระบบจากพื้นที่ ทุกภูมิภาคในประเทศไทยจำนวน 2 กลุ่ม โดยคิดรวมเป็นผู้ให้ข้อมูลคนสำคัญ 8 ตัวอย่าง ของหน่วยงานการศึกษานอกหลักสูตรและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) โดยใช้การ วิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Directed Content Analysis) การจัดข้อมูลให้เป็นระบบ และใช้วิธีบรรยาย เชื่อมโยงกับสิ่งที่ศึกษาทำการสังเคราะห์ ค้นหาแบบแผนและตีความข้อมูล ที่ผู้วิจัยได้รวบรวมมา รายงานการศึกษาที่เป็นแนวทางเพื่อใช้ในการวางแผนและออกแบบการสนับสนุนการเรียนการสอน ในการสร้างทักษะผู้ประกอบการในบริบทการศึกษานอกระบบ (Non-formal Education) ให้ผู้เรียน ได้มีทักษะความเป็นผู้ประกอบการ โดยอ้างอิงข้อมูลที่ได้จากการวิจัยในการลงพื้นที่จริง | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | ภาวะผู้ประกอบการและนวัตกรรม | en_US |
dc.subject | รูปแบบการเรียนรู้ | en_US |
dc.subject | ทักษะผู้ประกอบการ | en_US |
dc.subject | การศึกษานอกระบบ | en_US |
dc.title | การศึกษารูปแบบการเรียนรู้ การสร้างทักษะผู้ประกอบการของกลุ่มครูผู้สอน สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย ในประเทศไทย ในบริบทการศึกษา นอกระบบ (Non-formal education) | en_US |
dc.title.alternative | A Study of the Entrepreneur Professional Skill Learning of the Office of non-formal education and informal education in the non-formal context of Thailand | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP EM.034 2563.pdf | 2.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.