Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4206
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorกิตติชัย ราชมหา-
dc.contributor.authorปกรณ์, เลิศวิมลชัย-
dc.date.accessioned2021-12-13T05:09:38Z-
dc.date.available2021-12-13T05:09:38Z-
dc.date.issued2021-10-26-
dc.identifier.otherTP BM.058 2564-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4206-
dc.description130 แผ่นen_US
dc.description.abstractการพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพด้านการเกษตร (Agriculture and Biotechnology) ของประเทศไทยนั้นเป็น เรื่องที่รัฐบาลเขา้มามีบทบาทและให้ความสำคัญในเรื่องนี้อย่างมาก สำหรับการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสถานภาพการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับแต่ละเทคโนโลยี รวมถึงเครือข่ายนักวิจัย (Social Network Analysis) สำหรับกลุ่มอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพด้านการเกษตร เพื่อกำหนดแผนที่นำทางการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมการเกษตรและ เทคโนโลยีชีวภาพด้านการเกษตรเพื่อรองรับยุทธศาสตร์ของประเทศไทยที่มุ่งสู่ยุค 4.0 เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการผลักดันและขับเคลื่อน งานดำเนินงานตามแผนที่นำทางการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพด้านการเกษตร และเพื่อเสนอแนวทางในการติตตามความก้าวหน้าของงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อให้มีการทบทวนและระบุสถานะของแผนที่นำทางในแต่ละช่วงเวลาที่ เหมาะสม โดยผู้วิจัยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างของการวิจัยแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น (Non-Probability Sampling) ด้วยวิธีการจำเพาะเจาะจง (Purposive Sampling) จำนวนไม่น้อยกว่า 15 หน่วยงาน โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) และการอภิปรายกลุ่ม (Focus Group Discussion) โดยใช้เครื่องมือการเก็บรวมรวมข้อมูลการวิจัยคือ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Interview Form) เป็นเครื่องมือในการทำวิวจัย การประมวลผลข้อมูลการวิจัยนี้ อาศัยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) สำหรับข้อมูลปฐมภูมิที่เก็บรวบรวมทั้งในมิติอุปสงค์ และด้านอุปทาน นอกจากนี้ผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกับการวิเคราะห์บรรณมิติโดยอาศัยโปรแกรมอาร์ (R Program) สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิประเภทผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับประเทศและนานาชาติอีกด้วย ทั้งนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีประสิทธิผลต่อการนำมาพัฒนาแผนที่นำทางการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสาขาอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อรองรับยุทธศาสตร์ของประเทศไทยที่มุ่งสู่ยุค 4.0 ให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์และภายใต้ขอบเขตการศึกษาวิจัยนี้en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการจัดการธุรกิจen_US
dc.subjectเกษตรกรรมen_US
dc.subjectเทคโนโลยีชีวภาพen_US
dc.subjectภาคอุตสาหกรรมen_US
dc.subjectแผนที่นำทางen_US
dc.titleการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทำแผนที่นำทางการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ด้านการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อรองรับยุทธศาสตร์ของประเทศไทยที่มุ่งสู่ยุค 4.0 ในอนาคต;กรณีศึกษาในมิติผู้ประกอบการภาคอุตสาหกรรมขนาดเล็ก กลางและใหญ่ด้านการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพของไทยด้านพืชผลen_US
dc.title.alternativeA STUDY OF TECHNOLOGY ROADMAP FOR THAILAND’S AGRICULTURE AND BIOTECHNOLOGY FOR THE FUTURE BASED ON INDUSTRIAL PERSPECTIVESen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP BM.058 2564.pdf4.17 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.