Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4240
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorณัฐวุฒิ พิมพา-
dc.contributor.authorภัทราภรณ์ แสงเทศ-
dc.date.accessioned2021-12-23T07:40:25Z-
dc.date.available2021-12-23T07:40:25Z-
dc.date.issued2021-10-22-
dc.identifier.otherTP MS.051 2564-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4240-
dc.description35 แผ่นen_US
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่องปัจจัยที่ทำให้เกิดความหลงใหล ในสายงานอุตสาหกรรมห่วงโซ่อุปทานนี้ ทำการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยภายในของปัจเจกบุคคล ที่เฉพาะเจาะจงไปที่หน่วยงานในสายห่วงโซ่ อุปทาน เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดความหลงใหลและอยากทำงานในสายงานห่วงโซ่ อุปทาน เพื่อนำไปปรับใช้ในการวางแผนพัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยส่งเสริมให้ พัฒนาบุคลากรไปในทางที่สอดคล้องกับปัจจัยที่ทำให้เกิดความหลงใหล เพื่อเพิ่มศักยภาพของพนักงาน และรักษาไว้ซึ่งบุคลากรที่มีคุณค่าด้วยความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก กับผู้ที่มีความหลงใหลในสายงานห่วงโซ่อุปทานทั้งหมด 12 คน ผลการวิจัยแบ่งเป็น 4 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องคือ 1. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน 2. ปัจจัยส่วนบุคคลด้านประสบการณ์ 3. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างองค์กร 4. ปัจจัยภายนอกอื่นๆ เช่น เศรษฐกิจ เทคโนโลยี สังคม โดยพบว่า ปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดความหลงใหล มาจากการให้คุณค่าและ ผลลัพท์ของงาน โดยมีส่วนส่งเสริมจากความความสนใจในงาน ความถนัดของตนเอง การทำงานสัมพันธ์กับผู้อื่นมาประกอบ และพบว่าองค์กรสามารถผลักดันความหลงใหลในงานได้ด้วยการส่งเสริมการเรียนรู้ระหว่างแผนก การเปิดกว้างทางการแลกเปลี่ยนความรู้ การใช้ตัววัดผลร่วม ระหว่างแผนก ที่จะช่วยให้พนักงานรู้สึกเป็นทีมเดียวกันมากขึ้น ช่วยเหลือกันมากขึ้นอีกด้วยen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการจัดการและกลยุทธ์en_US
dc.subjectความหลงใหลen_US
dc.subjectห่วงโซ่อุปทานen_US
dc.subjectคุณค่าของงานen_US
dc.subjectความสนใจในงานen_US
dc.titleการศึกษาปัจจัยที่ทำให้เกิดความหลงใหล ในสายงานอุตสาหกรรมห่วงโซ่อุปทานen_US
dc.title.alternativeA STUDY OF JOB PASSIONATE IN SUPPLY CHAIN INDUSTRYen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP MS.051 2564.pdf514.26 kBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.