Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4242
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | กิตติชัย ราชมหา | - |
dc.contributor.author | ธีรพัฒน์, เจียระมั่นคง | - |
dc.date.accessioned | 2022-01-11T03:05:45Z | - |
dc.date.available | 2022-01-11T03:05:45Z | - |
dc.date.issued | 2021-10-26 | - |
dc.identifier.other | TP MS.052 2564 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4242 | - |
dc.description | 109 แผ่น | en_US |
dc.description.abstract | การพัฒนาอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพด้านการเกษตร (Agriculture and Biotechnology) ของประเทศไทยนั้นเป็น เรื่องที่รัฐบาลเข้ามามีบทบาทและให้ความสำคัญในเรื่องนี้อย่างมาก สำหรับการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาสถานภาพการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับแต่ละเทคโนโลยี รวมถึงเครือข่ายนักวิจัย (Social Network Analysis) สำหรับกลุ่ม อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพด้านการเกษตร (2) เพื่อกำหนดแผนที่นำทางการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมการเกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพด้านการเกษตรเพื่อรองรับยุทธศาสตร์ของประเทศไทยที่มุ่งสู่ยุค 4.0 (3) เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการผลักดันและขับเคลื่อนงานดำเนินงานตามแผนที่นำทางการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพด้านการเกษตร และ (4) เพื่อเสนอแนวทางในการติดตามความก้าวหน้าของงานวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อให้มีการทบทวนและระบุสถานะของแผนที่นำทางในแต่ละช่วงเวลาที่เหมาะสม สำหรับกลุ่มอุตสาหกรรมอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพด้านการเกษตร โดยผู้วิจัยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง ของการวิจัยแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น (Non-Probability Sampling) ด้วยวิธีการจำเพาะเจาะจง (Purposive Sampling) จำนวนไม่น้อยกว่า 15 หน่วยงาน โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) และการอภิปรายกลุ่ม (Focus Group Discussion) โดยใช้เครื่องมือการเก็บรวมรวมข้อมูลการวิจัยคือ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Interview Form) เป็นเครื่องมือในการทำวิจัย การประมวลผลข้อมูลการวิจัยนี้ อาศัยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) สำหรับข้อมูลปฐมภูมิที่เก็บรวบรวมทั้งในมิติอุปสงค์ กล่าวคือ ข้อมูลจากภาคอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพด้าน การเกษตร และด้านอุปทาน กล่าวคือ ข้อมูลภายใต้มิติด้านหน่วยงานที่มีบทบาทกำหนดนโยบาย หน่วยงานภาควิชาการและสถาบันการศึกษา นอกจากนี้ คณะผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกับการวิเคราะห์บรรณมิติโดยอาศัยโปรแกรมอาร์ (R Program) สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิประเภท ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับประเทศและนานาชาติอีกด้วย ทั้งนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีประสิทธิผลต่อการนำมาพัฒนาแผนที่นำทางการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสาขาอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ เพื่อรองรับยุทธศาสตร์ของประเทศไทยที่มุ่งสู่ยุค 4.0 ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และ ภายใต้ขอบเขตการศึกษาวิจัยนี้ | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | การจัดการและกลยุทธ์ | en_US |
dc.subject | เทคโนโลยีการเกษตร | en_US |
dc.subject | ผู้กำหนดนโยบาย | en_US |
dc.subject | เทคโนโลยีชีวภาพ | en_US |
dc.subject | แผนที่นำทาง | en_US |
dc.title | การศึกษาวิจัยเพื่อการจัดทำแผนที่นำทางการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสาขาอุตสาหกรรมการเกษตร เพื่อรองรับยุทธศาสตร์ของประเทศไทยที่มุ่งสู่ยุค 4.0 : ในมิติของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการออกนโยบาย | en_US |
dc.title.alternative | A STUDY OF TECHNOLOGY ROADMAP FOR THAILAND’S AGRICULTURE FOR THE FUTURE BASED ON POLICY MAKER PERSPECTIVES | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP MS.052 2564.pdf | 4.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.