Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4347
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | กิตติชัย ราชมหา | - |
dc.contributor.author | ณัฐกร, เชื้อปุย | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-25T08:55:11Z | - |
dc.date.available | 2022-03-25T08:55:11Z | - |
dc.date.issued | 2022-02-21 | - |
dc.identifier.other | TP BM.004 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4347 | - |
dc.description | 92 แผ่น | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวแบบกระบวนการจัดการความรู้ของวิสาหกิจชุมชนเพาะปลูกบุกในเขตพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย ซึ่งผลการวิจัยพบว่า วิสาหกิจชุมชนมีกระบวนการสร้างความรู้ภายใต้กระบวนการแสวงหาความรู้ การจัดเก็บความรู้ การถ่ายทอดความรู้ การนำความรู้ไปใช้ ซึ่งมีการใช้กระบวนการสร้างความรู้ที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละคน โดยชาวบ้านส่วนใหญ่ไม่ชอบจดบันทึก และจะทำในสิ่งเดิม ๆ ตามที่เคยรับรู้มา โดยใช้วิธีการสื่อสาร พูดคุย บอกต่อผ่านกระบวนการ Socialization และ Combination แต่ที่ปรึกษาวิสาหกิจชุมชนและหัวหน้าวิสากิจชุมชนมีการใช้กระบวนการสร้างความรู้ครบทุกขั้นตอนที่อยู่ในบริบทของกระบวนการจัดการที่แตกต่างกันไป ซึ่งประกอบไปด้วย Socialization Externalization Combination และ Internalization ทำให้ชุมชนนำไปใช้ประโยชน์เพื่อให้เป็นชุมชนเกษตรที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องได้ ซึ่งถือว่าวิสาหกิจชุมชนเพาะปลูกบุกในเขตภาคเหนือของประเทศไทย มีตัวแบบกระบวนการสร้างความรู้ภายใต้กระบวนการจัดการความรู้ต่าง ๆ ครบทั้ง 4 รูปแบบ โดยแต่ละรูปแบบมีมากน้อยแตกต่างกัน จึงทำให้ความรู้ที่จะเกิดขึ้นในแต่ละกระบวนการขาดตกบกพร่องไปบางส่วน หรืออาจจะไม่เกิดขึ้นเลย จึงทำให้ชุมชนไม่สามารถพัฒนาให้เกิดนวัตกรรมใหม่ ๆ ความรู้ใหม่ ๆ ในเรื่องต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องและยังไม่กลายเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ที่สมบูรณ์แบบและยั่งยืนได้ผลการวิจัยสามารถนำไปใช้ในการจัดการองค์ความรู้ต่าง ๆ สามารถเข้าถึงความรู้และพัฒนาตนเองให้ดำเนินธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถถ่ายทอดความรู้และนำความรู้รวมถึงการจัดการองค์ความรู้ต่าง ๆ ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง เพื่อให้การจัดการความรู้ต่าง ๆ ของทุกคนในชุมชนผลักดันและส่งเสริมให้บุคลากรในชุมชนมีการใช้ประโยชน์จากความรู้ได้อย่างคุ้มค่าและทำให้เกิดเป็นวิสาหกิจชุมชนแห่งการเรียนรู้ในการดำเนินชีวิตและสร้างให้ชุมชนเติบโตไปพร้อมกันอย่างยั่งยืน | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | การจัดการธุรกิจ | en_US |
dc.subject | ตัวแบบกระบวนการจัดการความรู้ | en_US |
dc.subject | การจัดการความรู้ | en_US |
dc.subject | ความรู้ | en_US |
dc.subject | วิสาหกิจชุมชน | en_US |
dc.title | ตัวแบบกระบวนการจัดการความรู้ของวิสาหกิจชุมชน: กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชนเพาะปลูกบุกในเขตพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | COMMUNITY ENTERPRISE KNOWLEDGE MANAGEMENT PROCESS MODEL: A CASE STUDY OF KONJAC CULTIVATION COMMUNITY ENTERPRISE IN NORTHEN OF THAILAND | en_US |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP BM.004 2565.pdf | 1.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.