Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4534
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorชนินทร์ อยู่เพชร-
dc.contributor.authorวราภรณ์, เตชะกสิกรพาณิชย์-
dc.date.accessioned2022-07-16T02:58:13Z-
dc.date.available2022-07-16T02:58:13Z-
dc.date.issued2022-03-26-
dc.identifier.otherTP BM.027 2565-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4534-
dc.description236 แผ่นen_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ที่ส่งผลต่อระดับระดับความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อร้านยารูปแบบ Omni-channel ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาด ประกอบด้วย ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการและด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ที่ส่งผลต่อระดับความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อร้านยารูปแบบ Omni-channel ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านคุณภาพการบริการ ประกอบด้วย ความเป็นรูปธรรมของการบริการ (Tangibles) ด้านความน่าเชื่อถือในการบริการ (Reliability) ด้านการตอบสนองต่อผู้รับบริการ (Responsiveness) ด้านการให้ความมั่นใจแก่ผู้มารับบริการ (Assurance) ด้านความเห็นอกเห็นใจผู้รับบริการ (Empathy) ที่ส่งผลต่อระดับความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อร้านยารูปแบบ Omni-channel ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการรับรู้ความเสี่ยง (perceived risk) ประกอบด้วย ความเสี่ยงทางการเงินความเสี่ยงของผลิตภัณฑ์ ความเสี่ยงด้านเวลา ความเสี่ยงด้านการขนส่ง ความเสี่ยงด้านสังคม และความเสี่ยงด้านความปลอดภัยของข้อมูลส่วนตัว ที่ส่งผลต่อระดับความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อร้านยารูปแบบ Omni-channel ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (5) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการรับรู้ประโยชน์ ต่อความพึงพอใจของลูกค้าที่ส่งผลระดับความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อร้านยารูปแบบ Omni-channel ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ในด้านประชากรศาสตร์ พบว่าเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และระดับรายได้ต่อเดือนมีความสัมพันธ์กับระดับความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อร้านยารูปแบบ Omni-channel ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจ ได้แก่ ปัจจัยด้านคุณภาพบริการ ในเรื่องของการตอบสนองความต้องการและความน่าเชื่อถือหรือไว้วางใจได้ โดยพบว่าการตอบสนองความต้องการมีความสัมพันธ์มากกว่าความน่าเชื่อถือหรือไว้วางใจได้ และปัจจัยด้านการรับรู้ประโยชน์en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการจัดการธุรกิจen_US
dc.subjectความพึงพอใจen_US
dc.subjectOmni-channelen_US
dc.subjectร้านยาen_US
dc.subjectปัจจัยen_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อ Pharmacy Omni-channel ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลen_US
dc.title.alternativeFACTORS AFFECTING CONSUMER SATISFACTION IN PHARMACY OMNI-CHANNEL IN BANGKOK METROPOLITAN REGIONen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP BM.027 2565.pdf2.95 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.