Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/454
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | ธนพล วีราสา | - |
dc.contributor.author | คชาภรณ์ ธรรมสินธุ์ | - |
dc.date.accessioned | 2021-03-19T09:11:15Z | - |
dc.date.available | 2021-03-19T09:11:15Z | - |
dc.date.issued | 2014-05-20 | - |
dc.identifier | TP EM.024 2557 | - |
dc.identifier.citation | 2557 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/454 | - |
dc.description.abstract | ชาเขียวผงชามะ มีแหล่งผลิตอยู่ที่ไร่ชาไทยดอยธรรม อาเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย ซึ่งปลูกชาสายพันธุ์จีนและสายพันธุ์อัสสัม เดิมจะนามาผลิตเป็นชาอูหลงชนิดใบ ซึ่งต้องนาไปชงกับน้าร้อนเพื่อดื่ม เพื่อต่อยอดธุรกิจเดิมให้ตอบสนองต่อพฤติกรรมผู้บริโภคในปัจจุบันที่นิยมความสะดวกสบายมากขึ้น จึงได้นาชาสายพันธุ์จีนมาผลิตเป็นชาเขียวผง ซึ่งสามารถชงได้ง่ายขึ้น การต่อยอดธุรกิจนี้ทาให้ต้องศึกษาความเป็นไปได้ในการเข้าสู่ตลาดของธุรกิจเพื่อหารูปแบบธุรกิจที่เหมาะสม ในภาพรวมกระแสของเครื่องดื่มชาเขียวมีแนวโน้มเติบโตขึ้นเรื่อยๆ สังเกตได้จากทั้งแนวโน้มการปลูกชาในประเทศไทย และจานวนร้านเครื่องดื่มที่ขายชาเขียวมีจานวนเพิ่มมากขึ้น รวมถึงในธุรกิจร้านอาหารญี่ปุ่นและเกาหลี ซึ่งมีเครื่องดื่มชาเขียวไว้บริการแทบทุกร้าน นอกจากนี้ด้วยคุณสมบัติที่ดีต่อสุขภาพในแง่ต่างๆ ของชาเขียว เช่น ช่วยลดไขมันในเลือด และมีสารต้านอนุมูลอิสระ ก็ทาให้ผู้ที่ใส่ใจสุขภาพหันมาดื่มชาเขียวกันมากขึ้นด้วย จึงเป็นที่มาของการวิจยัตลาดโดยแบ่งขอบเขตการศึกษาออกเป็นสองส่วน ได้แก่ ส่วนของการพัฒนาการผลิตและจัดส่งเป็นวัตถุดิบชาเขียวผงให้กับร้านอาหารญี่ปุ่นและเกาหลี (โดยตรงและผ่านตัวแทนจาหน่าย) หรือธุรกิจแบบ B2B และส่วนของการเปิดร้านชาเขียวชงสดพร้อมเสิร์ฟในลักษณะ Kiosk หรือธุรกิจแบบ B2C สาหรับการวิจัยตลาด B2B พบว่ามีขนาดตลาดที่ค่อนข้างใหญ่เพราะสามารถทดแทนชาเขียวนาเข้าได้ และสาหรับตลาด B2C นั้นได้มีโอกาสเปิด Kiosk ขายชาเขียวชงสดพร้อมเสิร์ฟในชื่อ “Chama” ในหลายๆ แห่ง โดยได้รับผลตอบรับเป็นอย่างดีจากกลุ่มผู้บริโภควัยทางาน ที่เป็นพนักงานบริษัท จึงได้กาหนดกลุ่มเป้าหมายหลักเป็นกลุ่มวัยทางาน โดยการพิจารณาเลือกสถานที่เปิดร้านจะเลือกจากแหล่งที่ตั้งของอาคารสานักงานต่างๆ ทั้งนี้จะไม่เปิดในห้างสรรพสินค้า เพราะมีความเสี่ยงด้านต้นทุนค่าเช่าที่สูง และไม่ใช่ทางผ่านหลักของกลุ่มเป้าหมาย นอกจากนี้การทาผลสารวจในรูปแบบต่างๆ ทั้งการนาผลิตภัณฑ์ไปขอความเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ และผลการประเมินทางประสาทสัมผัสในด้านความชอบที่เปรียบเทียบกับคู่แข่ง และการสารวจพฤติกรรมการบริโภคของผู้ดื่มชาเขียวชงสดพร้อมเสิร์ฟก็ได้รับผลตอบรับที่เป็นอย่างดี | - |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | - |
dc.subject | Entrepreneurship and Innovation | - |
dc.subject | ภาวะผู้ประกอบการและนวัตกรรม | - |
dc.subject | ชาเขียว | - |
dc.subject | ธุรกิจอาหาร | - |
dc.subject | ความเป็นไปได้ | - |
dc.title | การศึกษาความเป็นไปได้ในการเข้าสู่ตลาดของธุรกิจการผลิตและการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์จากผงชาเขียว ภายใต้แบรนด์ "Chama" | - |
dc.type | Thematic Paper | - |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP EM.024 2557.pdf | 2.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.