Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4577
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorบุญยิ่ง คงอาชาภัทร-
dc.contributor.authorมณัชยา, อำพันดี-
dc.date.accessioned2022-07-29T08:14:10Z-
dc.date.available2022-07-29T08:14:10Z-
dc.date.issued2022-03-19-
dc.identifier.otherTP MM.020 2565-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4577-
dc.description42 แผ่นen_US
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของทัศนคติที่มีต่อการรับรู้คุณค่าและความไว้วางใจในการซื้ออาหารสดผ่านแอปพลิเคชั่น 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการรับรู้ความเสี่ยงที่มีต่อการรับรู้คุณค่าและความไว้วางใจในการซื้ออาหารสดผ่านแอปพลิเคชั่น 3) เพื่อศึกษาอิทธิพลของการรับรู้คุณค่าและความไว้วางใจที่มีต่อความตั้งใจซื้ออาหารสดผ่านแอปพลิเคชั่น โดยเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามออนไลน์ จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 355 คน เลือกใช้การสุ่มตัวอย่างแบบไม่อาศัยทฤษฎีความน่าจะเป็น และวิเคราะห์ผลด้วยวิธีการทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจซื้ออาหารสดของผู้บริโภคมากที่สุด คือ ปัจจัยด้านการรับรู้คุณค่า ถัดมาคือความไว้วางใจตามลำดับ ซึ่งจากการศึกษาพบว่าทัศนคติและการรับรู้ความเสี่ยงต่างก็เป็นตัวแปรสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้คุณค่าและความไว้วางใจ จนส่งผลเกี่ยวเนื่องมายังความตั้งใจซื้ออาหารสดผ่านแอปพลิเคชั่นen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectกาตลาดen_US
dc.subjectแอปพลิเคชันen_US
dc.subjectอาหารสดen_US
dc.subjectการสั่งอาหารออนไลน์en_US
dc.titleการศึกษาอิทธิพลของการรับรู้คุณค่าและความไว้วางใจที่มีผลต่อความตั้งใจซื้ออาหารสดผ่านแอปพลิเคชั่นของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพและปริมณฑลen_US
dc.title.alternativeA STUDY OF THE IMPACTS OF PERCEIVED VALUE AND TRUST ON CONSUMERS’ PURCHASE INTENTION TO FRESH FOOD APPLICATIONen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP MM.020 2565.pdf542.38 kBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.