Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4732
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorวินัย วงศ์สุรวัฒน์-
dc.contributor.authorกานตรัตน์, พัฑฒพงศ์วัฒน์-
dc.date.accessioned2022-12-01T07:33:52Z-
dc.date.available2022-12-01T07:33:52Z-
dc.date.issued2022-07-30-
dc.identifier.otherTP MM.043 2565-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4732-
dc.description48 แผ่นen_US
dc.description.abstractงานวิจัยในครั้งนี้ได้รับแรงบันดาลใจมาจากการสังเกตเห็นการเข้ามามีบทบาทของเทคโนโลยีที่เพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งส่งผลให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในบางธุรกิจถูกเทคโนโลยีเข้ามาแทนที่ แต่ในทางกลับกันปากกากับกระดาษ ซึ่งเป็นสินค้าที่สามารถทดแทนได้ด้วยเทคโนโลยีอย่างแท็บเล็ตกับมีมูลค่าการเติบโตของตลาดที่เพิ่มมากขึ้นในอนาคต สวนทางกับการถูกทดแทนด้วยดิจิตอล จึงเป็นที่มาในการหาคาตอบว่าปัจจัยใดเป็นสาเหตุหลักที่แท้จริงในการใช้ปากกาและกระดาษ ในยุค Digital Disruption ผ่านการเก็บข้อมูลในรูปแบบ การสัมภาษณ์เชิงลึก จากกลุ่มผู้ใช้งาน 30 ท่าน ผลการวิจัยพบว่า ความรวดเร็วในการทางานที่เชื่อว่าเทคโนโลยีทำได้ดีกว่านั้น กลับไม่เป็นความจริง ผู้ใช้งานสามารถทำงานได้รวดเร็วกว่าเมื่อใช้งานด้วยปากกาและกระดาษ อีกทั้งปากกาและกระดาษยังมีประโยชน์ให้ผู้ใช้งานสามารถจดจำข้อมูลได้ดีกว่า รวมถึงยังช่วยป้องกันการรั่วไหลของข้อมูลได้มากกว่าในระดับขององค์กร จวบจนกระทั่งการตรวจสอบการทำงานที่ลึกซึ้ง และละเอียดมากกว่าเมื่อใช้ปากกาและกระดาษ และผู้วิจัยยังได้ค้นพบถึงอีกหนึ่งสาเหตุที่ยังมีการใช้งานปากกาและ กระดาษในระดับมหภาค คือในมุมมองเรื่องหลักสูตรการศึกษาไทยที่เป็นตัวบีบให้การใช้ปากกาและกระดาษยังคงจำเป็นในระบบการศึกษาen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการตลาดen_US
dc.subjectปากกาen_US
dc.subjectกระดาษen_US
dc.subjectแท็บเล็ตen_US
dc.titleพฤติกรรมการใช้ปากกาและกระดาษในยุค Digital Disruptionen_US
dc.title.alternativeTHE IMPACT OF DIGITAL DISRUPTION ON PEN AND PAPERen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP MM.043 2565.pdf676.59 kBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.