Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4744
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorบุริม โอทกานนท์-
dc.contributor.authorชิษณุพงศ์, ขอมปวน-
dc.date.accessioned2022-12-01T13:06:36Z-
dc.date.available2022-12-01T13:06:36Z-
dc.date.issued2022-06-16-
dc.identifier.otherTP BM.072 2565-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4744-
dc.description51 แผ่นen_US
dc.description.abstractในปัจจุบันการแนวทางการดาเนินธุรกิจของโลกที่เปลี่ยนไปจากอดีตที่เคยมุ่งเน้นแต่การเติบโตทางเศรษฐกิจเพียงอย่าง เดียว จนปรับไปสู่การเติบโตทางเศรษฐกิจบนพื้นฐานของความยั่งยืน ซึ่งการมุ่งเน้นความยั่งยืนจะต้องมีการพัฒนาทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปด้วย จากแนวทางของสหประชาชาติที่ว่าด้วยมาตรการเร่งด่วนเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งมีสาเหตุมาจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจก โดยมีการจัดทำอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (UNFCCC) ตั้งแต่ 2533 และมีการจัดทำพิธีสารเกียวโตเพื่อให้ประเทศที่พัฒนาแล้วลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ผ่านเครื่องมือที่เรียกว่าคาร์บอนเครดิต (Carbon Credit) จึงเป็นที่มาเพื่อจะทำการศึกษาทัศนคติและบรรทัดฐานที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อขายคาร์บอนเครดิต ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพและปริมณฑล โดยกำหนดวัตถุประสงค์จะศึกษาปัจจัยด้านทัศนคติและปัจจัยด้านบรรทัดฐานโดยวิธีการวิจัยจะเก็บข้อมูลกลุ่มประชากรหลักที่เป็นกลุ่มประชากรที่สนใจและตระหนักถึงสภาวะโลกร้อน จำนวนที่กำหนดไว้ 391 คน ใช้เครื่องมือวิจัย แบบเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ใช้การวิจัยแบบสารวจผ่านการเก็บแบบสอบถาม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บแบบสอบถามคือ google form ผ่านการแบ่งปันตาม Social Media ต่างๆแล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ในโปรแกรม SPSS โดยใช้วิถีวิเคราะห์ข้อมูลแบบ Multiple Regression ซึ่งได้ค่าของ Cronbach's Alpha อยทูี่ 0.772 ผลการวิจัยพบกว่าปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อขายคาร์บอนเครดิตของผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เมื่อได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้หลักการทางสถิติในเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) พบว่าปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจซื้อขาย คาร์บอนเครดิตในด้านทัศนคติมีปัจจัยด้านความเข้าใจ (Cognitive) และปัจจัยด้านพฤติกรรม (Conative) มีค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับต่ำกว่า 0.05 ส่วนในด้านบรรทัดฐาน ปัจจัยด้านบรรทัดฐานทางสังคม (Social Norm) และปัจจัยด้านบรรทัดฐานส่วนบุคคล (Personal Norm) ทั้งสองมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectการจัดการธุรกิจen_US
dc.subjectคาร์บอนเครดิต (Carbon Credit)en_US
dc.subjectทัศนคติen_US
dc.subjectบรรทัดฐานen_US
dc.titleศึกษาทัศนคติและบรรทัดฐานที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อขาย Carbon Credit ของผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑลen_US
dc.title.alternativeINTENTION TO BUY CARBON CREDIT IN CONSUMERS IN BANGKOK AND THE SURROUNDING AREA IS AFFECTED BY ATTITUDE AND NORM.en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP BM.072 2565.pdf1.08 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.