Please use this identifier to cite or link to this item:
https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4809
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
eperson.contributor.advisor | ศิริสุข รักถิ่น | - |
dc.contributor.author | ภณิตา, อทินวงศ์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-01-21T03:14:21Z | - |
dc.date.available | 2023-01-21T03:14:21Z | - |
dc.date.issued | 2022-09-24 | - |
dc.identifier.other | TP MS.029 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/4809 | - |
dc.description | 89 แผ่น | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ ทัศนคติ และประสบการณ์ของผู้ปกครองต่อการใช้เบาะนั่งนิรภัยสำหรับเด็ก เป็น การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้คือ ผู้ปกครองที่มีเด็กวัยแรกเกิดถึง 6 ปี อยู่ในการ ดูแล มีรถยนต์ส่วนตัว มีเบาะนั่งนิรภัยสาหรับเด็กและมีประสบการณ์ในการใช้เบาะนั่งนิรภัยสำหรับเด็กขณะใช้รถยนต์ ส่วนตัวในการเดินทาง จำนวน 28 ราย และตัวแทนผู้ประกอบกิจการเกี่ยวกับเบาะนั่งนิรภัยสำหรับเด็ก จำนวน 5 บริษัท ผลการวิจัยพบว่า ความรู้ ทัศนคติและประสบการณ์ของผู้ปกครองที่มีต่อการใช้เบาะนั่งนิรภัยสำหรับเด็กมีความสัมพันธ์ซึ่ง กันและกันในเชิงบวกสอดคล้องกับทฤษฎี KAP (Knowledge, Attitude and Practice model) โดยผู้ปกครองมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเบาะนั่งนิรภัยสำหรับเด็กค่อนข้างดีและมีทัศนคติในเชิงบวกต่อเบาะนั่งนิรภัยสำหรับเด็ก โดยส่วนมากจะตระหนัก ถึงความสำคัญในการมีเบาะนั่งนิรภัยสำหรับเด็กและความปลอดภัยของเด็กเป็นอันดับแรก ทั้งนี้ผู้ปกครองส่วนใหญ่ไม่ได้ รับคำแนะนำจากทางโรงพยาบาลเกี่ยวกับการใช้เบาะนั่งนิรภัยสำหรับเด็ก ในส่วนของประสบการณ์ในการใช้เบาะนั่งนิรภัยสำหรับเด็กของผู้ปกครองพบว่า ระยะทางมีผลต่อการใช้เบาะนั่งนิรภัยสำหรับเด็ก กล่าวคือผู้ปกครองจะมีความถี่ในการใช้มากขึ้นหากมีการเดินทางในระยะทางที่ไกลขึ้น สำหรับประสบการณ์ที่ดีที่ผู้ปกครองประสบในการใช้เบาะนั่งนิรภัยสำหรับเด็ก คือ การที่เด็กนั่งอยู่กับที่ส่งผลให้ผู้ปกครองมีสมาธิในการขับรถเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ส่วนปัญหาที่ผู้ปกครองประสบในการใช้เบาะนั่งนิรภัยสำหรับเด็กคือ ตัวอุปกรณ์มีน้ำหนักมากและด้วยขนาดที่ใหญ่จึงทำให้ต้องใช้พื้นที่ในการติดตั้ง และพฤติกรรมของเด็กที่ยากลำบาก เช่น เด็กร้องไห้ เด็กอึดอัด เป็นต้นในส่วนของการเลือกซื้อเบาะนั่งนิรภัยสำหรับเด็ก ผู้ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับเบาะนั่งนิรภัยสำหรับเด็กสามารถนำเสนอราคาที่หลากหลายและมีมาตรฐานความปลอดภัยสอดคล้องกับสิ่งที่ผู้บริโภคต้องการ | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | การจัดการและกลยุทธ์ | en_US |
dc.subject | เบาะนั่งนิรภัยสำหรับเด็ก | en_US |
dc.subject | ความรู้ | en_US |
dc.subject | ทัศนคติ | en_US |
dc.subject | ประสบการณ์ | en_US |
dc.subject | ผู้ปกครอง | en_US |
dc.title | ความรู้ ทัศนคติและประสบการณ์ของผู้ปกครองที่มีต่อการใช้เบาะนั่งนิรภัยสำหรับเด็ก | en_US |
dc.title.alternative | PARENTS’ KNOWLEDGE, ATTITUDES, AND EXPERIENCE TOWARDS CAR SEAT USE FOR CHILDREN | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Thematic Paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TP MS.029 2565.pdf | 1.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.