Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/494
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorพัลลภา ปีติสันต์-
dc.contributor.authorณัฐธิดา โชติวิทยพร-
dc.date.accessioned2021-03-19T09:11:48Z-
dc.date.available2021-03-19T09:11:48Z-
dc.date.issued2014-05-13-
dc.identifierTP BM.016 2556-
dc.identifier.citation2556-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/494-
dc.description.abstractการประยุกต์ใช้ทฤษฎีลำดับขั้นทางจิตวิทยา (Mean-end chains theory) เพื่อศึกษาทัศนคติของผู้เข้าร่วมการวิจัย ต่อการสวมใส่ชุดชั้นใน โดยการสัมภาษณ์แบบลำดับขั้น (Laddering interview) เพื่อวิเคราะห์ดึงเอาคุณสมบัติของชุดชั้นใน (Attribute) ผลลัพธ์ที่ได้จากการสวมใส่ (Consequence) และคุณค่า (Value) ในทัศนคติของผู้เข้าร่วมการวิจัย โดยคัดเลือกผู้เข้าร่วมงานวิจัยทั้งหมด 25 คน เป็นสตรีมีครรภ์ อายุครรภ์ 8-36 สัปดาห์ จำนวน 13 คน และเป็นสตรีหลังคลอดที่กำลังให้นมบุตร จำนวน 12 คน จากนั้นทำการวิเคราะห์ผลการสัมภาษณ์ และแสดงผลด้วยแผนผังลำดับขั้น (Hierarchical value map) ผลการศึกษาทางด้านคุณลักษณะ พบว่าผู้เข้าร่วมการวิจัยให้ความสำคัญกับเนื้อผ้ามากที่สุด จำนวน 24 คน รองลงมาคือรูปแบบของชุดชั้นใน นอกจากนั้น ผู้เข้าร่วมการวิจัยยังคำนึงถึงทรงเต้า และยี่ห้อของชุดชั้นในอีกด้วย ในด้านผลลัพธ์ของการสวมใส่พบว่า ผู้เข้าร่วมการวิจัยต้องการผลลัพธ์จากการสวมใส่ชุดชั้นในสตรีสำหรับสตรีมีครรภ์ในด้านความสบายมากที่สุด เนื่องจากความสบายส่งผลลัพธ์ต่อเนื่องไปยังการเคลื่อนไหวที่คล่องตัว นำไปสู่คุณค่าของผู้บริโภคในด้านความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป นอกจากคุณค่าในด้านความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นแล้วยังพบคุณค่าในด้านความมั่นใจในตนเองอีกด้วย ซึ่งการใช้ทฤษฎีลำดับขั้นทางจิตวิทยานี้ทำให้นักพัฒนาผลิตภัณฑ์ทราบถึงคุณลักษณะต่างๆของผลิตภัณฑ์ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการทำการวิจัย และพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สามารถตอบสนองตรงตามความต้องการของผู้บริโภคได้ต่อไป คำสำคัญ: ทัศนคติ ชุดชั้นในสตรีสำหรับสตรีมีครรภ์-
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดล-
dc.subjectการจัดการธุรกิจ-
dc.subjectBusiness mangement-
dc.subjectทัศนคติ-
dc.subjectชุดชั้นใน-
dc.subjectชุดชั้นในสตรี-
dc.subjectสตรีมีครรภ์-
dc.subjectจิตวิทยา-
dc.titleการศึกษาปัจจัยและคุณค่าที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ชุดชั้นในสตรีสำหรับสตรีมีครรภ์โดยการประยุกต์ใช้ทฤษฎีลำดับขั้นทางจิตวิทยา = Applying the mean-end chains theory to explore pregnancy purchasing decision on nursing bras.-
dc.typeThematic Paper-
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP BM.016 2556.pdf3.07 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.