Please use this identifier to cite or link to this item: https://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5108
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
eperson.contributor.advisorบุริม โอทกานนท์-
dc.contributor.authorอานนท์, เถาสุวรรณ์-
dc.date.accessioned2023-07-29T04:55:24Z-
dc.date.available2023-07-29T04:55:24Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.otherTP HOM.015 2566-
dc.identifier.urihttps://archive.cm.mahidol.ac.th/handle/123456789/5108-
dc.description84 แผ่นen_US
dc.description.abstractโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เป็นสำนักงานหนึ่งของสภากาชาดไทย ซึ่งเป็นองค์กรสาธารณกุศลระดับชาติ โรงพยาบาล จุฬาลงกรณ์มีอายุ 108 ปี บริหารจัดการโดยมีผู้อำนวยการโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และคณบดีคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นบุคคลเดียวกัน จึงกำหนดวิสัยทัศน์ เป็นสถาบันต้นแบบทางการแพทย์ที่มีคุณธรรม ด้วยคุณภาพมาตรฐานระดับนานาชาติ และกำหนด พันธกิจ ในการค้นคว้า วิจัย และพัฒนาการบริการทางการแพทย์อย่างต่อเนื่อง เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของทุกคน ซึ่ง 1 ใน 10 พันธกิจของ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ฯ คือการ “เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้” กล่าวคือ การมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ท้ังของแพทย์ พยาบาล และ บุคลากรสายสนับสนุน มีกระบวนการและการดำเนินการการเรียนรู้ที่เป็นรูปธรรม และพฤติกรรมของผู้นำที่กระตุ้นการเรียนอย่างต่อเนื่อง และชัดเจน ผลงานที่แสดงอย่างชัดเจนของฝ่ายแพทย์ที่ประสบผลสำเร็จและได้รับรางวัลต่าง ๆ มีแสดงให้เห็นมากมาย เช่น เอกสารงานวิจัย ที่ได้รับการยอมรับและตีพิมพ์ในต่างประเทศ หรือนวัตกรรมประดิษฐ์ต่าง ๆ เช่น หุ่นยนต์ดินสอให้การเฝ้าติดตามผู้ป่วย ไม้เท้าเลเซอร์ ส าหรับผู้สูงอายุ ซึ่งนำมาใช้กับผู้ป่วยได้จริง หรือผลงานของPeter M. Senge’s (1990) ได้เสนอแนวความคิดของการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ ที่จะผลักดันและสนับสนุนให้เกิด องค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยจะมุ่งเน้นไปที่คน เพราะ Senge’s มีความคิดว่า การพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ จะต้องเริ่มจากการพัฒนาคน ก่อน องค์ประกอบที่สำคัญ ซึ่งนับว่าเป็นหัวใจของการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) ความรอบรู้แห่งตน (Personal Mastery) (2) แบบแผนความคิด (Mental Models) ( 3) วิสัยทัศน์ร่วม (Shared Vision) (4) การเรียนรู้ของทีม (Team Learning) และ (5) การคิดอย่างเป็นระบบ (Systematics Thinking) ซึ่งทั้ง 5 องค์ประกอบนี้ผู้วิจัยมีความเห็นว่า สามารถใช้เป็นชนวนความคิด (guiding ideas) ในการสร้างการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในองค์กรได้อย่างต่อเนื่อง เพราะเป็นองค์กรที่เรียนรู้อยู่ตลอดเวลา เรียนรู้ทั่วทั้งองค์กร เรียนรู้ใน กิจกรรมทุกอย่าง เป็นองค์กรที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มีความเป็นพลวัตอยู่ตลอดเวลา บุคลากรขององค์กรรวมตัวกันเรียนรู้จาก การปฏิบัติงานประจำ เรียนรู้จากการพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง (CQI: Continuous Quality Improvement) ซึ่งเป็นต้นแบบของการจัดการองค์กรen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectทุนมนุษย์และการจัดการองค์กรen_US
dc.subjectการจัดการความรู้en_US
dc.subjectองค์กรแห่งการเรียนรู้en_US
dc.titleกระบวนการจัดการความรู้ที่นำไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ของบุคลากรโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ กรณีศึกษารูปแบบองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่ดีen_US
dc.title.alternativeKNOWLEDGE MANAGEMENT SYSTEMS THAT LEAD KING CHULALONGKORN MEMORIAL HOSPITAL'S PERSONNEL TO BECOME A LEARNING ORGANIZATION: A CASE STUDY OF A GOOD LEARNING ORGANIZATION PATTERNen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Thematic Paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TP HOM.015 2566.pdf1.31 MBAdobe PDFThumbnail
View/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.